๑.๑.๓ ระบบขนส่งมวลชนปลอดอุบัติเหตุ (ราง รถ เรือ BRT รถเมล์) | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :80.00 ผลงาน :100.00 |
1.ประสานสำนักงานเขต 50 เขต เพื่อขอข้อมูลสถานประกอบกิจการการจัดให้มีมหรสพ การแสดงดนตรีฯ 2.สถานประกอบกิจการการจัดให้มีมหรสพ การแสดงดนตรีฯ ที่ได้รับใบอนุญาต ถูกร้องเรียนว่าประกอบกิจการส่งเสียงดัง จำนวน 42 แห่ง
1.สถานประกอบกิจการการจัดให้มีมหรสพ การแสดงดนตรีฯ ที่ได้รับใบอนุญาต ถูกร้องเรียนว่าประกอบกิจการส่งเสียงดัง จำนวน 42 แห่ง 2.ตรวจสอบด้านสุขลักษณะของสถานประกอบกิจการการจัดให้มีมหรสพ การแสดงดนตรีฯ กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 7 แห่ง โดยยังไม่มีการตรวจวัดระดับเสียงรบกวน
1.สถานประกอบกิจการการจัดให้มีมหรสพ การแสดงดนตรีฯ ที่ได้รับใบอนุญาต ถูกร้องเรียนว่าประกอบกิจการส่งเสียงดัง จำนวน 42 แห่ง 2.ตรวจสอบด้านสุขลักษณะของสถานประกอบกิจการการจัดให้มีมหรสพ การแสดงดนตรีฯ กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 7 แห่ง โดยยังไม่มีการตรวจวัดระดับเสียงรบกวน
สถานประกอบกิจการที่มีการจัดให้มีมหรสพ การแสดงดนตรี เต้นรำ รำวงฯ ที่เคยถูกร้องเรียนว่าประกอบกิจการส่งเสียงดังในปี พ.ศ. 2562 จำนวน 42 แห่ง ได้ทำการปรับปรุงแก้ไข และได้รับการตรวจสอบด้านสุขลักษณะแล้วทั้งหมด โดยทั้ง 42 แห่ง ผู้ที่เคยร้องเรียนหรือผู้พักอาศัยใกล้เคียงไม่ได้รับความเดือดร้อนจากเสียงรบกวนแล้ว จึงยุติเหตุรำคาญและไม่ต้องมีการตรวจวัดระดับเสียงรบกวน
๑.๒.๒ เด็กและเยาวชนไม่เสพยาเสพติด ผู้เสพติดทุกคนเข้าสู่ระบบการบำบัดรักษาและฟื้นฟูที่มีมา | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :90.00 ผลงาน :89.02 |
ใช้ผลการดำเนินงานจากระบบ NISPA ซึ่งอยู่ระหว่างการนำเข้าข้อมูลในระบบฯ
-ผลการดำเนินงานจากระบบ NISPA เดือน มีนาคม 2563 มีชุมชนที่ได้รับการสนับสนุนและสามารถขับเคลื่อนงานแก้ไขปัญหายาเสพติด จำนวน 914 ชุมชน จากจำนวนชุมชนที่จดทะเบียน จำนวน 2,067 ชุมชน ร้อยละ 44.22
-1. ผู้อำนวยการสำนักอนามัยได้เห็นชอบให้ปรับลดค่าเป้าหมายตัวชี้วัดจากร้อยละ 90 เป็นร้อยละ 60 เมื่อวันที่ 27 เม.ย.2563 รายละเอียดตามหนังสือด่วนที่สุด ที่ กท 0709/653 ลงวันที่ 22 เม.ย.2563 2. ผลการดำเนินงานจากระบบ NISPA ระหว่าง 1 ต.ค. 62 - 18 มิ.ย. 63 มีชุมชนที่ได้รับการสนับสนุนและสามารถขับเคลื่อนงานแก้ไขปัญหายาเสพติด จำนวน 1,106 ชุมชน จากจำนวนชุมชนที่จดทะเบียนทั้งหมด 2,067 ชุมชน ร้อยละ 53.51
-1. ผู้อำนวยการสำนักอนามัยได้เห็นชอบให้ปรับลดค่าเป้าหมายตัวชี้วัดจากร้อยละ 90 เป็นร้อยละ 60 เมื่อวันที่ 27 เม.ย. 2563 รายละเอียดตามหนังสือด่วนที่สุด ที่ กท 0709/653 ลงวันที่ 22 เม.ย.2563 2. ผลการดำเนินงานจากระบบ NISPA ระหว่าง 1 ต.ค. 62 - 30 ก.ย. 63 มีชุมชนที่ได้รับการสนับสนุนและสามารถขับเคลื่อนงานแก้ไขปัญหายาเสพติด จำนวน 1,840 ชุมชน จากจำนวนชุมชนที่จดทะเบียนทั้งหมด 2,067 ชุมชน ร้อยละ 89.02
๑.๒.๑ ระบบขนส่งมวลชนปลอดอุบัติเหตุ (ราง รถ เรือ BRT รถเมล์) | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :90.00 ผลงาน :89.02 |
ใช้ผลการดำเนินงานจากระบบ NISPA ซึ่งอยู่ระหว่างการนำเข้าข้อมูลในระบบฯ
-ผลการดำเนินงานจากระบบ NISPA เดือน มีนาคม 2563 มีชุมชนที่ได้รับการสนับสนุนและสามารถขับเคลื่อนงานแก้ไขปัญหายาเสพติด จำนวน 914 ชุมชน จากจำนวนชุมชนที่จดทะเบียน จำนวน 2,067 ชุมชน ร้อยละ 44.22
-1. ผู้อำนวยการสำนักอนามัยได้เห็นชอบให้ปรับลดค่าเป้าหมายตัวชี้วัดจากร้อยละ 90 เป็นร้อยละ 60 เมื่อวันที่ 27 เม.ย.2563 รายละเอียดตามหนังสือด่วนที่สุด ที่ กท 0709/653 ลงวันที่ 22 เม.ย.2563 2. ผลการดำเนินงานจากระบบ NISPA ระหว่าง 1 ต.ค. 62 - 18 มิ.ย. 63 มีชุมชนที่ได้รับการสนับสนุนและสามารถขับเคลื่อนงานแก้ไขปัญหายาเสพติด จำนวน 1,106 ชุมชน จากจำนวนชุมชนที่จดทะเบียนทั้งหมด 2,067 ชุมชน ร้อยละ 53.51
-1. ผู้อำนวยการสำนักอนามัยได้เห็นชอบให้ปรับลดค่าเป้าหมายตัวชี้วัดจากร้อยละ 90 เป็นร้อยละ 60 เมื่อวันที่ 27 เม.ย. 2563 รายละเอียดตามหนังสือด่วนที่สุด ที่ กท 0709/653 ลงวันที่ 22 เม.ย.2563 2. ผลการดำเนินงานจากระบบ NISPA ระหว่าง 1 ต.ค. 62 - 30 ก.ย. 63 มีชุมชนที่ได้รับการสนับสนุนและสามารถขับเคลื่อนงานแก้ไขปัญหายาเสพติด จำนวน 1,840 ชุมชน จากจำนวนชุมชนที่จดทะเบียนทั้งหมด 2,067 ชุมชน ร้อยละ 89.02
๑.๒.๒ เด็กและเยาวชนไม่เสพยาเสพติด ผู้เสพติดทุกคนเข้าสู่ระบบการบำบัดรักษาและฟื้นฟูที่มีมา | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :30.00 ผลงาน :22.06 |
อยู่ระหว่างประสานศูนย์บริการสาธารณสุขเพื่อรายงานข้อมูลผลการดำเนินงานของอาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานครด้านการป้องกันยาเสพติดในระบบการรายงานผ่านเว็ปไซต์สำนักงานป้องกันและบำบัดการติดยาเสพติด
-อาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานครร่วมดำเนินงานด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาและสารเสพติดในชุมชน โดยการให้ความรู้ จัดกิจกรรมรณรงค์ด้านการป้องกันยาเสพติด จำนวน 101คน จาก 612 คน เป็นร้อยละ 16.50
-1. ผู้อำนวยการสำนักอนามัยได้เห็นชอบให้ปรับลดค่าเป้าหมายจากร้อยละ 30 เป็นร้อยละ20 เมื่อวันที่ 27 เม.ย.2563 รายละเอียดตามหนังสือ ด่วนที่สุด ที่ กท 0709/653 ลงวันที่ 22 เม.ย.2563 2. อาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานครร่วมดำเนินงานด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาและสารเสพติดในชุมชน โดยการให้ความรู้ จัดกิจกรรมรณรงค์ด้านการป้องกันยาเสพติด จำนวน 117 คน จาก 612 คน เป็นร้อยละ 19.12
-1. ผู้อำนวยการสำนักอนามัยได้เห็นชอบให้ปรับลดค่าเป้าหมายจากร้อยละ 30 เป็นร้อยละ 20 เมื่อวันที่ 27 เม.ย.2563 รายละเอียดตามหนังสือ ด่วนที่สุด ที่ กท 0709/653 ลงวันที่ 22 เม.ย.2563 2. อาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานครร่วมดำเนินงานด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาและสารเสพติดในชุมชน โดยการให้ความรู้ จัดกิจกรรมรณรงค์ด้านการป้องกันยาเสพติด จำนวน 135 คน จาก 612 คน เป็นร้อยละ 22.06
๑.๒.๑ ระบบขนส่งมวลชนปลอดอุบัติเหตุ (ราง รถ เรือ BRT รถเมล์) | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :30.00 ผลงาน :22.06 |
อยู่ระหว่างประสานศูนย์บริการสาธารณสุขเพื่อรายงานข้อมูลผลการดำเนินงานของอาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานครด้านการป้องกันยาเสพติดในระบบการรายงานผ่านเว็ปไซต์สำนักงานป้องกันและบำบัดการติดยาเสพติด
-อาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานครร่วมดำเนินงานด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาและสารเสพติดในชุมชน โดยการให้ความรู้ จัดกิจกรรมรณรงค์ด้านการป้องกันยาเสพติด จำนวน 101คน จาก 612 คน เป็นร้อยละ 16.50
-1. ผู้อำนวยการสำนักอนามัยได้เห็นชอบให้ปรับลดค่าเป้าหมายจากร้อยละ 30 เป็นร้อยละ20 เมื่อวันที่ 27 เม.ย.2563 รายละเอียดตามหนังสือ ด่วนที่สุด ที่ กท 0709/653 ลงวันที่ 22 เม.ย.2563 2. อาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานครร่วมดำเนินงานด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาและสารเสพติดในชุมชน โดยการให้ความรู้ จัดกิจกรรมรณรงค์ด้านการป้องกันยาเสพติด จำนวน 117 คน จาก 612 คน เป็นร้อยละ 19.12
-1. ผู้อำนวยการสำนักอนามัยได้เห็นชอบให้ปรับลดค่าเป้าหมายจากร้อยละ 30 เป็นร้อยละ 20 เมื่อวันที่ 27 เม.ย.2563 รายละเอียดตามหนังสือ ด่วนที่สุด ที่ กท 0709/653 ลงวันที่ 22 เม.ย.2563 2. อาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานครร่วมดำเนินงานด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาและสารเสพติดในชุมชน โดยการให้ความรู้ จัดกิจกรรมรณรงค์ด้านการป้องกันยาเสพติด จำนวน 135 คน จาก 612 คน เป็นร้อยละ 22.06
๑.๒.๒ เด็กและเยาวชนไม่เสพยาเสพติด ผู้เสพติดทุกคนเข้าสู่ระบบการบำบัดรักษาและฟื้นฟูที่มีมา | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :60.00 ผลงาน :74.18 |
1. จัดทำหนังสือถึงสำนักงานเขต เพื่อสำรวจจำนวนอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด ที่คงสถานะ 2. ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลที่สำนักงานเขตส่งกลับมายังสำนักอนามัย
-สำนักงานเขต 50 เขตรายงานผลการดำเนินงานของอาสามัครฯ ในระบบการรายงานผ่านเว็ปไซต์สำนักงานป้องกันและบำบัดการติดยาเสพติด ซึ่งมีผลการดำเนินงานระหว่างเดือน ต.ค.62 - มี.ค.63 จำนวน 6,913 คน จากจำนวน 12,408 คน ร้อยละ 55.71 โดยมีการดำเนินกิจกรรม ดังนี้ - กิจกรรมเฝ้าระวังภัยและการแพร่ระบาดยาเสพติด จำนวน 6,833 ครั้ง - ค้นหา ติดตาม ดูแลช่วยเหลือผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด จำนวน 1,863 ครั้ง - การให้ความรู้ด้านยาเสพติด จำนวน 5,234 ครั้ง
-1. ประสานสำนักงานเขตเพื่อสำรวจข้อมูลจำนวนอาสาสมัครฯ ที่คงสถานะในต้นปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ปัจจุบันมีจำนวน 12,408 คน (ข้อมูล ณ วันที่ 28 ม.ค.2563) 2. สำนักงานเขต 50 เขตรายงานผลการดำเนินงานของอาสามัครฯ ในระบบการรายงานผ่านเว็ปไซต์สำนักงานป้องกันและบำบัดการติดยาเสพติด ซึ่งมีผลการดำเนินงานระหว่าง 1 ต.ค.62 - 31 พ.ค.63 จำนวน 7,380 คน จากจำนวน 12,408 คน ร้อยละ 59.48 โดยมีการดำเนินกิจกรรม ดังนี้ - กิจกรรมเฝ้าระวังภัยและการแพร่ระบาดยาเสพติด จำนวน 7,153ครั้ง - ค้นหา ติดตาม ดูแลช่วยเหลือผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด จำนวน 2,197 ครั้ง - การให้ความรู้ด้านยาเสพติด จำนวน 5,717 ครั้ง
-1. ประสานสำนักงานเขตเพื่อสำรวจข้อมูลจำนวนอาสาสมัครฯ ที่คงสถานะในต้นปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ปัจจุบันมีจำนวน 12,408 คน (ข้อมูล ณ วันที่ 28 ม.ค.2563) 2. สำนักงานเขต 50 เขตรายงานผลการดำเนินงานของอาสามัครฯ ในระบบการรายงานผ่านเว็ปไซต์สำนักงานป้องกันและบำบัดการติดยาเสพติด ซึ่งมีผลการดำเนินงานระหว่าง 1 ต.ค.62 - 30 ก.ย.63 จำนวน 9,204 คน จากจำนวน 12,408 คน ร้อยละ 74.18 โดยมีการดำเนินกิจกรรม ดังนี้ - กิจกรรมเฝ้าระวังภัยและการแพร่ระบาดยาเสพติด จำนวน 8,896 ครั้ง - ค้นหา ติดตาม ดูแลช่วยเหลือผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด จำนวน 2,485 ครั้ง - การให้ความรู้ด้านยาเสพติด จำนวน 6,839 ครั้ง
๑.๒.๑ ระบบขนส่งมวลชนปลอดอุบัติเหตุ (ราง รถ เรือ BRT รถเมล์) | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :60.00 ผลงาน :74.18 |
1. จัดทำหนังสือถึงสำนักงานเขต เพื่อสำรวจจำนวนอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด ที่คงสถานะ 2. ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลที่สำนักงานเขตส่งกลับมายังสำนักอนามัย
-สำนักงานเขต 50 เขตรายงานผลการดำเนินงานของอาสามัครฯ ในระบบการรายงานผ่านเว็ปไซต์สำนักงานป้องกันและบำบัดการติดยาเสพติด ซึ่งมีผลการดำเนินงานระหว่างเดือน ต.ค.62 - มี.ค.63 จำนวน 6,913 คน จากจำนวน 12,408 คน ร้อยละ 55.71 โดยมีการดำเนินกิจกรรม ดังนี้ - กิจกรรมเฝ้าระวังภัยและการแพร่ระบาดยาเสพติด จำนวน 6,833 ครั้ง - ค้นหา ติดตาม ดูแลช่วยเหลือผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด จำนวน 1,863 ครั้ง - การให้ความรู้ด้านยาเสพติด จำนวน 5,234 ครั้ง
-1. ประสานสำนักงานเขตเพื่อสำรวจข้อมูลจำนวนอาสาสมัครฯ ที่คงสถานะในต้นปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ปัจจุบันมีจำนวน 12,408 คน (ข้อมูล ณ วันที่ 28 ม.ค.2563) 2. สำนักงานเขต 50 เขตรายงานผลการดำเนินงานของอาสามัครฯ ในระบบการรายงานผ่านเว็ปไซต์สำนักงานป้องกันและบำบัดการติดยาเสพติด ซึ่งมีผลการดำเนินงานระหว่าง 1 ต.ค.62 - 31 พ.ค.63 จำนวน 7,380 คน จากจำนวน 12,408 คน ร้อยละ 59.48 โดยมีการดำเนินกิจกรรม ดังนี้ - กิจกรรมเฝ้าระวังภัยและการแพร่ระบาดยาเสพติด จำนวน 7,153ครั้ง - ค้นหา ติดตาม ดูแลช่วยเหลือผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด จำนวน 2,197 ครั้ง - การให้ความรู้ด้านยาเสพติด จำนวน 5,717 ครั้ง
-1. ประสานสำนักงานเขตเพื่อสำรวจข้อมูลจำนวนอาสาสมัครฯ ที่คงสถานะในต้นปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ปัจจุบันมีจำนวน 12,408 คน (ข้อมูล ณ วันที่ 28 ม.ค.2563) 2. สำนักงานเขต 50 เขตรายงานผลการดำเนินงานของอาสามัครฯ ในระบบการรายงานผ่านเว็ปไซต์สำนักงานป้องกันและบำบัดการติดยาเสพติด ซึ่งมีผลการดำเนินงานระหว่าง 1 ต.ค.62 - 30 ก.ย.63 จำนวน 9,204 คน จากจำนวน 12,408 คน ร้อยละ 74.18 โดยมีการดำเนินกิจกรรม ดังนี้ - กิจกรรมเฝ้าระวังภัยและการแพร่ระบาดยาเสพติด จำนวน 8,896 ครั้ง - ค้นหา ติดตาม ดูแลช่วยเหลือผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด จำนวน 2,485 ครั้ง - การให้ความรู้ด้านยาเสพติด จำนวน 6,839 ครั้ง
๑.๒.๒ เด็กและเยาวชนไม่เสพยาเสพติด ผู้เสพติดทุกคนเข้าสู่ระบบการบำบัดรักษาและฟื้นฟูที่มีมา | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :55.00 ผลงาน :55.00 |
ประสานสำนักงานเขตเพื่อคัดเลือกสถานประกอบการที่จะดำเนินการ
-ประสานสำนักงานเขตเพื่อคัดเลือกสถานประกอบการที่จะดำเนินการโดยผลการดำเนินงาน ณ เดือน มี.ค.63 มีสถานประกอบการที่มีกิจกรรมป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด จำนวน 100 แห่ง จาก 300 แห่ง ร้อยละ 33.33 ซึ่งมีการดำเนินงานดังนี้ - จัดบอร์ดประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เรื่องยาเสพติด โทษ พิษภัย - สุ่มตรวจคัดกรองยาและสารเสพติด - จัดอบรมให้ความรู้แก่พนักงาน โดยมีวิทยากรจากสำนักอนามัย ปปส.กทม.สำนักงานเขต
-ประสานสำนักงานเขตเพื่อคัดเลือกสถานประกอบการที่จะดำเนินการ โดยผลการดำเนินงาน ณ เดือน มิ.ย.63 มีสถานประกอบการที่มีกิจกรรมป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด จำนวน 165 แห่ง จาก 300 แห่ง ร้อยละ 55 ซึ่งมีการดำเนินงาน ดังนี้ - จัดบอร์ดประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เรื่องยาเสพติด โทษ พิษภัย - สุ่มตรวจคัดกรองยาและสารเสพติด - จัดอบรมให้ความรู้แก่พนักงาน โดยมีวิทยากรจากสำนักอนามัย ปปส.กทม.สำนักงานเขต
-ประสานสำนักงานเขตเพื่อคัดเลือกสถานประกอบการที่จะดำเนินการ โดยผลการดำเนินงาน ณ เดือน ก.ค.63 มีสถานประกอบการที่มีกิจกรรมป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด จำนวน 165 แห่ง จาก 300 แห่ง ร้อยละ 55 ซึ่งมีการดำเนินงาน ดังนี้ - จัดบอร์ดประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เรื่องยาเสพติด โทษ พิษภัย - สุ่มตรวจคัดกรองยาและสารเสพติด - จัดอบรมให้ความรู้แก่พนักงาน โดยมีวิทยากรจากสำนักอนามัย ปปส.กทม. สำนักงานเขต
๑.๒.๑ ระบบขนส่งมวลชนปลอดอุบัติเหตุ (ราง รถ เรือ BRT รถเมล์) | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :55.00 ผลงาน :55.00 |
ประสานสำนักงานเขตเพื่อคัดเลือกสถานประกอบการที่จะดำเนินการ
-ประสานสำนักงานเขตเพื่อคัดเลือกสถานประกอบการที่จะดำเนินการโดยผลการดำเนินงาน ณ เดือน มี.ค.63 มีสถานประกอบการที่มีกิจกรรมป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด จำนวน 100 แห่ง จาก 300 แห่ง ร้อยละ 33.33 ซึ่งมีการดำเนินงานดังนี้ - จัดบอร์ดประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เรื่องยาเสพติด โทษ พิษภัย - สุ่มตรวจคัดกรองยาและสารเสพติด - จัดอบรมให้ความรู้แก่พนักงาน โดยมีวิทยากรจากสำนักอนามัย ปปส.กทม.สำนักงานเขต
-ประสานสำนักงานเขตเพื่อคัดเลือกสถานประกอบการที่จะดำเนินการ โดยผลการดำเนินงาน ณ เดือน มิ.ย.63 มีสถานประกอบการที่มีกิจกรรมป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด จำนวน 165 แห่ง จาก 300 แห่ง ร้อยละ 55 ซึ่งมีการดำเนินงาน ดังนี้ - จัดบอร์ดประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เรื่องยาเสพติด โทษ พิษภัย - สุ่มตรวจคัดกรองยาและสารเสพติด - จัดอบรมให้ความรู้แก่พนักงาน โดยมีวิทยากรจากสำนักอนามัย ปปส.กทม.สำนักงานเขต
-ประสานสำนักงานเขตเพื่อคัดเลือกสถานประกอบการที่จะดำเนินการ โดยผลการดำเนินงาน ณ เดือน ก.ค.63 มีสถานประกอบการที่มีกิจกรรมป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด จำนวน 165 แห่ง จาก 300 แห่ง ร้อยละ 55 ซึ่งมีการดำเนินงาน ดังนี้ - จัดบอร์ดประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เรื่องยาเสพติด โทษ พิษภัย - สุ่มตรวจคัดกรองยาและสารเสพติด - จัดอบรมให้ความรู้แก่พนักงาน โดยมีวิทยากรจากสำนักอนามัย ปปส.กทม. สำนักงานเขต
๑.๒.๒ เด็กและเยาวชนไม่เสพยาเสพติด ผู้เสพติดทุกคนเข้าสู่ระบบการบำบัดรักษาและฟื้นฟูที่มีมา | |
![]() |
หน่วยนับ :แห่ง เป้าหมาย :36.00 ผลงาน :36.00 |
อยู่ระหว่างจัดทำคำสั่งผู้เข้ารับการฝึกอบรมพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครกรุงเทพมหานครในสถานศึกษา โดยกำหนดจัดกิจกรรมระหว่างวันที่ 27-28 มกราคม 2563
-จัดอบรมพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครในสถานศึกษา ระหว่างวันที่ 28 - 29 มกราคม 2563 ณ โรงแรมเอเชีย โดยสถานศึกษาอยู่ระหว่างดำเนินโครงการเกี่ยวกับการรณรงค์ ป้องกันปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา
-จัดอบรมพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครกรุงเทพมหานครในสถานศึกษา ระหว่างวันที่ 28 - 29 มกราคม 2563 ณ โรงแรมเอเชีย โดยมีสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 36 แห่ง และอาสาสมัครฯ จำนวน 150 คน ซึ่งได้รับความรู้ เรื่อง การป้องกันและแก้ไขปัญหายาและสารเสพติดการให้คำปรึกษาเบื้องต้น การสังเกตและการช่วยเหลือบุคคลที่มีภาวะซึมเศร้า
-จัดอบรมพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครกรุงเทพมหานครในสถานศึกษาระหว่างวันที่ 28 - 29 มกราคม 2563 ณ โรงแรมเอเชีย โดยมีสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 36 แห่ง และอาสาสมัครฯ จำนวน 150 คน ซึ่งได้รับความรู้ เรื่อง การป้องกันและแก้ไขปัญหายาและสารเสพติด การให้คำปรึกษาเบื้องต้น การสังเกต และการช่วยเหลือบุคคลที่มีภาวะซึมเศร้า
๑.๒.๑ ระบบขนส่งมวลชนปลอดอุบัติเหตุ (ราง รถ เรือ BRT รถเมล์) | |
![]() |
หน่วยนับ :แห่ง เป้าหมาย :36.00 ผลงาน :36.00 |
อยู่ระหว่างจัดทำคำสั่งผู้เข้ารับการฝึกอบรมพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครกรุงเทพมหานครในสถานศึกษา โดยกำหนดจัดกิจกรรมระหว่างวันที่ 27-28 มกราคม 2563
-จัดอบรมพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครในสถานศึกษา ระหว่างวันที่ 28 - 29 มกราคม 2563 ณ โรงแรมเอเชีย โดยสถานศึกษาอยู่ระหว่างดำเนินโครงการเกี่ยวกับการรณรงค์ ป้องกันปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา
-จัดอบรมพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครกรุงเทพมหานครในสถานศึกษา ระหว่างวันที่ 28 - 29 มกราคม 2563 ณ โรงแรมเอเชีย โดยมีสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 36 แห่ง และอาสาสมัครฯ จำนวน 150 คน ซึ่งได้รับความรู้ เรื่อง การป้องกันและแก้ไขปัญหายาและสารเสพติดการให้คำปรึกษาเบื้องต้น การสังเกตและการช่วยเหลือบุคคลที่มีภาวะซึมเศร้า
-จัดอบรมพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครกรุงเทพมหานครในสถานศึกษาระหว่างวันที่ 28 - 29 มกราคม 2563 ณ โรงแรมเอเชีย โดยมีสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 36 แห่ง และอาสาสมัครฯ จำนวน 150 คน ซึ่งได้รับความรู้ เรื่อง การป้องกันและแก้ไขปัญหายาและสารเสพติด การให้คำปรึกษาเบื้องต้น การสังเกต และการช่วยเหลือบุคคลที่มีภาวะซึมเศร้า
๑.๒.๒ เด็กและเยาวชนไม่เสพยาเสพติด ผู้เสพติดทุกคนเข้าสู่ระบบการบำบัดรักษาและฟื้นฟูที่มีมา | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :85.00 ผลงาน :100.00 |
ดำเนินกิจกรรมเผยแพร่ความรู้/การจัดกิจกรรมเสริมภูมิคุ้มกันการป้องกันยาเสพติด และสนับสนุนสื่อประชาสัมพันธ์ให้แก่โรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 13 โรงเรียน จาก 109 โรงเรียน ร้อยละ 11.93
-โรงเรียนมีการดำเนินกิจกรรมป้องกันยาเสพติดในสถานศึกษา โดยดำเนินการตามมาตรการการป้องกันและแก้ไข ปัญหายา/สารเสพติดในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร การให้ความรู้เรื่องโทษพิษภัยของยาเสพติดแก่นักเรียน การจัดกิจกรรมทักษะชีวิตเสริมภูมิคุ้มกันป้องกันยาเสพติดในโรงเรียน จำนวน 55 โรงเรียน จาก 109 โรงเรียน ร้อยละ 50.46
-โรงเรียนมีการดำเนินกิจกรรมป้องกันยาเสพติดในสถานศึกษา โดยดำเนินการตามมาตรการการป้องกันและแก้ไขปัญหายา/สารเสพติดในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร การรณรงค์ให้ความรู้เรื่องโทษพิษภัยของยาเสพติดแก่นักเรียน เนื่องในวันสำคัญต่างๆ เช่น วันงดสูบบุหรี่โลก วันต่อต้านยาเสพติดโลก ผ่านสื่อประชาสัมพันธ์ทาง Line Facebook และเพจของทางโรงเรียน จำนวนทั้งหมด 109 โรงเรียน ร้อยละ 100
-โรงเรียนมีการดำเนินกิจกรรมป้องกันยาเสพติดในสถานศึกษา โดยดำเนินการตามมาตรการการป้องกันและแก้ไขปัญหายา/สารเสพติดในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร การรณรงค์ให้ความรู้เรื่องโทษพิษภัยของยาเสพติดแก่นักเรียนเนื่องในวันสำคัญต่างๆ เช่น วันงดสูบบุหรี่โลก วันต่อต้านยาเสพติดโลก ผ่านสื่อประชาสัมพันธ์ทาง Line Facebook และเพจของทางโรงเรียน จำนวนทั้งหมด 109 โรงเรียน ร้อยละ 100
๑.๒.๑ ระบบขนส่งมวลชนปลอดอุบัติเหตุ (ราง รถ เรือ BRT รถเมล์) | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :85.00 ผลงาน :100.00 |
ดำเนินกิจกรรมเผยแพร่ความรู้/การจัดกิจกรรมเสริมภูมิคุ้มกันการป้องกันยาเสพติด และสนับสนุนสื่อประชาสัมพันธ์ให้แก่โรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 13 โรงเรียน จาก 109 โรงเรียน ร้อยละ 11.93
-โรงเรียนมีการดำเนินกิจกรรมป้องกันยาเสพติดในสถานศึกษา โดยดำเนินการตามมาตรการการป้องกันและแก้ไข ปัญหายา/สารเสพติดในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร การให้ความรู้เรื่องโทษพิษภัยของยาเสพติดแก่นักเรียน การจัดกิจกรรมทักษะชีวิตเสริมภูมิคุ้มกันป้องกันยาเสพติดในโรงเรียน จำนวน 55 โรงเรียน จาก 109 โรงเรียน ร้อยละ 50.46
-โรงเรียนมีการดำเนินกิจกรรมป้องกันยาเสพติดในสถานศึกษา โดยดำเนินการตามมาตรการการป้องกันและแก้ไขปัญหายา/สารเสพติดในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร การรณรงค์ให้ความรู้เรื่องโทษพิษภัยของยาเสพติดแก่นักเรียน เนื่องในวันสำคัญต่างๆ เช่น วันงดสูบบุหรี่โลก วันต่อต้านยาเสพติดโลก ผ่านสื่อประชาสัมพันธ์ทาง Line Facebook และเพจของทางโรงเรียน จำนวนทั้งหมด 109 โรงเรียน ร้อยละ 100
-โรงเรียนมีการดำเนินกิจกรรมป้องกันยาเสพติดในสถานศึกษา โดยดำเนินการตามมาตรการการป้องกันและแก้ไขปัญหายา/สารเสพติดในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร การรณรงค์ให้ความรู้เรื่องโทษพิษภัยของยาเสพติดแก่นักเรียนเนื่องในวันสำคัญต่างๆ เช่น วันงดสูบบุหรี่โลก วันต่อต้านยาเสพติดโลก ผ่านสื่อประชาสัมพันธ์ทาง Line Facebook และเพจของทางโรงเรียน จำนวนทั้งหมด 109 โรงเรียน ร้อยละ 100
๑.๒.๒ เด็กและเยาวชนไม่เสพยาเสพติด ผู้เสพติดทุกคนเข้าสู่ระบบการบำบัดรักษาและฟื้นฟูที่มีมา | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :67.00 ผลงาน :64.76 |
อยู่ระหว่างการตรวจสอบข้อมูลระบบการบำบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดของประเทศ (บสต.)
-1.ผู้เสพผู้ติดยา/สารเสพติดได้รับการบำบัดหรือฟื้นฟูสมรรถภาพครบตามระยะเวลาที่กำหนด และมีผลปัสสาวะเป็นลบก่อน การจำหน่าย จำนวน 2,118 คน จากผู้เข้ารับการบำบัดโปรแกรมการบำบัดรักษาแบบ BMA Matrix Model หรือฟื้นฟูสมรรถภาพแบบผู้ป่วยในทั้งหมด จำนวน 3,369 ราย เป็นร้อยละ 62.87 (ข้อมูล ณ วันที่ 24 มีนาคม 2563) 2.จากข้อมูลระบบการบำบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดของประเทศ (บสต.) มีจำนวนผู้ผ่านการบำบัดฯ ได้รับการติดตาม 1,351 คน จากจำนวนผู้ผ่านการบำบัดทั้งหมด 1,806 คน ร้อยละ 74.81
-1. ผู้เสพผู้ติดยา/สารเสพติดได้รับการบำบัดหรือฟื้นฟูสมรรถภาพครบตามระยะเวลาที่กำหนด และมีผลปัสสาวะเป็นลบก่อนการจำหน่าย จำนวน 3,658 คน จาก ผู้เข้ารับการบำบัดโปรแกรมการบำบัดรักษาแบบ BMA Matrix Model หรือฟื้นฟูสมรรถภาพแบบผู้ป่วยในทั้งหมด จำนวน 5,740 ราย เป็นร้อยละ 63.73 (ข้อมูล ณ วันที่ 12 มิถุนายน 2563) 2. จากข้อมูลระบบการบำบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดของประเทศ (บสต.) มีจำนวนผู้ผ่านการบำบัดฯได้รับการติดตาม 1,351 คน จากจำนวนผู้ผ่านการบำบัดทั้งหมด 1,806 คน ร้อยละ 74.81
1. ผู้เสพผู้ติดยา/สารเสพติดได้รับการบำบัดหรือฟื้นฟูสมรรถภาพครบตามระยะเวลาที่กำหนด และมีผลปัสสาวะเป็นลบก่อนการจำหน่าย จำนวน 4,825 คน จากผู้เข้ารับการบำบัดโปรแกรมการบำบัดรักษาแบบ BMA Matrix Model หรือฟื้นฟูสมรรถภาพแบบผู้ป่วยในทั้งหมด จำนวน 7,451 ราย เป็นร้อยละ 64.76 (ผลการดำเนินงาน 1 ต.ค.62-30 ก.ย.63) 2. จากข้อมูลระบบการบำบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดของประเทศ (บสต.) ระหว่าง 1 ต.ค.62 - 30 ก.ย.63 มีจำนวนผู้ผ่านการบำบัดฯได้รับการติดตามจำนวน 5,062 คน จากจำนวนผู้ผ่านการบำบัดทั้งหมด 6,352 คน ร้อยละ 79.69
๑.๒.๑ ระบบขนส่งมวลชนปลอดอุบัติเหตุ (ราง รถ เรือ BRT รถเมล์) | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :67.00 ผลงาน :64.76 |
อยู่ระหว่างการตรวจสอบข้อมูลระบบการบำบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดของประเทศ (บสต.)
-1.ผู้เสพผู้ติดยา/สารเสพติดได้รับการบำบัดหรือฟื้นฟูสมรรถภาพครบตามระยะเวลาที่กำหนด และมีผลปัสสาวะเป็นลบก่อน การจำหน่าย จำนวน 2,118 คน จากผู้เข้ารับการบำบัดโปรแกรมการบำบัดรักษาแบบ BMA Matrix Model หรือฟื้นฟูสมรรถภาพแบบผู้ป่วยในทั้งหมด จำนวน 3,369 ราย เป็นร้อยละ 62.87 (ข้อมูล ณ วันที่ 24 มีนาคม 2563) 2.จากข้อมูลระบบการบำบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดของประเทศ (บสต.) มีจำนวนผู้ผ่านการบำบัดฯ ได้รับการติดตาม 1,351 คน จากจำนวนผู้ผ่านการบำบัดทั้งหมด 1,806 คน ร้อยละ 74.81
-1. ผู้เสพผู้ติดยา/สารเสพติดได้รับการบำบัดหรือฟื้นฟูสมรรถภาพครบตามระยะเวลาที่กำหนด และมีผลปัสสาวะเป็นลบก่อนการจำหน่าย จำนวน 3,658 คน จาก ผู้เข้ารับการบำบัดโปรแกรมการบำบัดรักษาแบบ BMA Matrix Model หรือฟื้นฟูสมรรถภาพแบบผู้ป่วยในทั้งหมด จำนวน 5,740 ราย เป็นร้อยละ 63.73 (ข้อมูล ณ วันที่ 12 มิถุนายน 2563) 2. จากข้อมูลระบบการบำบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดของประเทศ (บสต.) มีจำนวนผู้ผ่านการบำบัดฯได้รับการติดตาม 1,351 คน จากจำนวนผู้ผ่านการบำบัดทั้งหมด 1,806 คน ร้อยละ 74.81
1. ผู้เสพผู้ติดยา/สารเสพติดได้รับการบำบัดหรือฟื้นฟูสมรรถภาพครบตามระยะเวลาที่กำหนด และมีผลปัสสาวะเป็นลบก่อนการจำหน่าย จำนวน 4,825 คน จากผู้เข้ารับการบำบัดโปรแกรมการบำบัดรักษาแบบ BMA Matrix Model หรือฟื้นฟูสมรรถภาพแบบผู้ป่วยในทั้งหมด จำนวน 7,451 ราย เป็นร้อยละ 64.76 (ผลการดำเนินงาน 1 ต.ค.62-30 ก.ย.63) 2. จากข้อมูลระบบการบำบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดของประเทศ (บสต.) ระหว่าง 1 ต.ค.62 - 30 ก.ย.63 มีจำนวนผู้ผ่านการบำบัดฯได้รับการติดตามจำนวน 5,062 คน จากจำนวนผู้ผ่านการบำบัดทั้งหมด 6,352 คน ร้อยละ 79.69
๑.๒.๒ เด็กและเยาวชนไม่เสพยาเสพติด ผู้เสพติดทุกคนเข้าสู่ระบบการบำบัดรักษาและฟื้นฟูที่มีมา | |
![]() |
หน่วยนับ :ชุมชน เป้าหมาย :1,200.00 ผลงาน :1,611.00 |
ใช้ผลการดำเนินงานจากระบบ NISPA ซึ่งอยู่ระหว่างการนำเข้าข้อมูลในระบบฯ
ใช้ผลการดำเนินงานจากระบบ NISPA โดยมีผลการประเมินสถานะหมู่บ้าน/ชุมชน ซึ่งมีชุมชนที่ดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดตามเกณฑ์ของกรุงเทพมหานคร จำนวน 964 ชุมชน
ใช้ผลการดำเนินงานจากระบบ NISPA โดยมีผลการประเมินสถานะหมู่บ้าน/ชุมชน ซึ่งมีชุมชนที่ดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดตามเกณฑ์ของกรุงเทพมหานคร จำนวน 964 ชุมชน
ข้อมูลจากผลการประเมินสถานะหมู่บ้าน/ชุมชน จำนวน 2 ครั้งภายในปีงบประมาณ ซึ่งผลการประเมินฯ ครั้งที่ 2 เดือนสิงหาคม 2563 พบว่า มีชุมชนที่ดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดตามเกณฑ์ของกรุงเทพฯ จำนวน 1,611 ชุมชน
๑.๒.๑ ระบบขนส่งมวลชนปลอดอุบัติเหตุ (ราง รถ เรือ BRT รถเมล์) | |
![]() |
หน่วยนับ :ชุมชน เป้าหมาย :1,200.00 ผลงาน :1,611.00 |
ใช้ผลการดำเนินงานจากระบบ NISPA ซึ่งอยู่ระหว่างการนำเข้าข้อมูลในระบบฯ
ใช้ผลการดำเนินงานจากระบบ NISPA โดยมีผลการประเมินสถานะหมู่บ้าน/ชุมชน ซึ่งมีชุมชนที่ดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดตามเกณฑ์ของกรุงเทพมหานคร จำนวน 964 ชุมชน
ใช้ผลการดำเนินงานจากระบบ NISPA โดยมีผลการประเมินสถานะหมู่บ้าน/ชุมชน ซึ่งมีชุมชนที่ดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดตามเกณฑ์ของกรุงเทพมหานคร จำนวน 964 ชุมชน
ข้อมูลจากผลการประเมินสถานะหมู่บ้าน/ชุมชน จำนวน 2 ครั้งภายในปีงบประมาณ ซึ่งผลการประเมินฯ ครั้งที่ 2 เดือนสิงหาคม 2563 พบว่า มีชุมชนที่ดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดตามเกณฑ์ของกรุงเทพฯ จำนวน 1,611 ชุมชน
๑.๕.๑๑ ประชาชนบริโภคอาหารที่มีความปลอดภัยจากเชื้อโรคและสารปนเปื้อนที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ | |
![]() |
หน่วยนับ :>ร้อยละ เป้าหมาย :90.00 ผลงาน :100.00 |
จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่เข้าเกณฑ์การรักษาทั้งหมด ของศูนย์บริการสาธารณสุขนำร่อง 8 แห่ง จำนวน 115 คน จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่เข้าเกณฑ์การรักษาได้รับยาต้านไวรัส ในศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน 115 คน คิดเป็นร้อยละ 100
จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่เข้าเกณฑ์การรักษาทั้งหมด ของศูนย์บริการสาธารณสุขนำร่อง 8 แห่ง จำนวน 252 คน จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่เข้าเกณฑ์การรักษาได้รับยาต้านไวรัส ในศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน 252 คน คิดเป็นร้อยละ 100
จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่เข้าเกณฑ์การรักษาทั้งหมด ของศูนย์บริการสาธารณสุขนำร่อง 8 แห่ง จำนวน 331 คน จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่เข้าเกณฑ์การรักษาได้รับยาต้านไวรัส ในศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน 331 คน คิดเป็นร้อยละ 100
จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่เข้าเกณฑ์การรักษาทั้งหมด ของศูนย์บริการสาธารณสุขนำร่อง 8 แห่ง จำนวน 394 คน จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่เข้าเกณฑ์การรักษาได้รับยาต้านไวรัส ในศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน 394 คน คิดเป็นร้อยละ 100
๑.๕.๑๑ ประชาชนบริโภคอาหารที่มีความปลอดภัยจากเชื้อโรคและสารปนเปื้อนที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ | |
![]() |
หน่วยนับ :≥ร้อยละ เป้าหมาย :89.00 ผลงาน :90.53 |
ผลสำเร็จของการรักษาผู้ป่วยวัณโรคทุกประเภทรอบ 1/2562 จำนวนผู้ป่วยที่นำมาประเมิน 188 คน มีผลการรักษาสำเร็จ 154 คน คิดเป็นร้อยละ 81.91
ผลสำเร็จของการรักษาผู้ป่วยวัณโรคทุกประเภทรอบ 1-2/2562 จำนวนผู้ป่วยที่นำมาประเมิน 367 คน มีผลการรักษาสำเร็จ 310 คน คิดเป็นร้อยละ 84.47
ผลสำเร็จของการรักษาผู้ป่วยวัณโรคทุกประเภทรอบ 1-3/2562 จำนวนผู้ป่วยที่นำมาประเมิน 559 คน มีผลการรักษาสำเร็จ 509 คน คิดเป็นร้อยละ 91.06
ผลสำเร็จของการรักษาผู้ป่วยวัณโรคทุกประเภท ปี 2562 จำนวนผู้ป่วยที่นำมาประเมิน 760 คน มีผลการรักษาสำเร็จ 688 คน คิดเป็นร้อยละ 90.53
๑.๕.๑๑ ประชาชนบริโภคอาหารที่มีความปลอดภัยจากเชื้อโรคและสารปนเปื้อนที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ | |
![]() |
หน่วยนับ :ไม่เกินค่าเปอร์เซ็นไทล์ที่ 80 ของ 5 ปีย้อนหลัง เป้าหมาย :80.00 ผลงาน :46.63 |
ผู้ป่วย คูณ ประชากร 100,000 คน หาร จำนวนประชากรปี 2562 311 x 100,000 / 5,666,264 = 5.49 *จำนวนผู้ป่วย มาจากรายงาน รง.506 ในระบบ EPINET ซึ่งเป็นอัตราป่วยสะสมโรคไข้เลือดออกในกรุงเทพมหานคร ของสถานการณ์ไข้เลือดออกกรุงเทพมหานคร
ผู้ป่วย คูณ ประชากร 100,000 คน หาร จำนวนประชากรปี 2562 1,035 x 100,000 / 5,666,264 = 18.27 *จำนวนผู้ป่วย มาจากรายงาน รง.506 ในระบบ EPINET ซึ่งเป็นอัตราป่วยสะสมโรคไข้เลือดออกในกรุงเทพมหานคร ของสถานการณ์ไข้เลือดออกกรุงเทพมหานคร
ผู้ป่วย x ประชากร / จำนวนประชากรปี 2562 1,515 x 100,000/5,666,264 = 26.74 *จำนวนผู้ป่วย มาจากรายงาน รง.506 ในระบบ EPINET ซึ่งเป็นอัตราป่วยสะสมโรคไข้เลือดออกในกรุงเทพมหานคร ของสถานการณ์ไข้เลือดออกกรุงเทพมหานคร
ผู้ป่วย x ประชากร / จำนวนประชากรปี 2562 2,642 x 100,000/5,666,264 = 46.63 *จำนวนผู้ป่วย มาจากรายงาน รง.506 ในระบบ EPINET ซึ่งเป็นอัตราป่วยสะสมโรคไข้เลือดออกในกรุงเทพมหานคร ของสถานการณ์ไข้เลือดออกกรุงเทพมหานคร *ค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง คือ 158.66
๑.๕.๑๑ ประชาชนบริโภคอาหารที่มีความปลอดภัยจากเชื้อโรคและสารปนเปื้อนที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :70.00 ผลงาน :83.60 |
อยู่ในชั้นตอนขออนุมัติกิจกรรมไข้หวัดใหญ่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนและศึกษาทบทวนผลการดำเนินงานของปีที่ผ่านมา
ทำบันทึกส่งเอกสารเพิ่มเติมเสนอสำนักงานเลขาสำนักอนามัยเพื่อทำบันทึกส่งเอกสารเพิ่มเติมตามที่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลแนะนำเพื่ออนุมัติใช้เงินงบกลาง
- ศูนย์บริการสาธารณสุขลงทะเบียนให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่มีความประสงค์จะรับบริการฉีดวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่เป็นรายบุคคลผ่านโปรแกรมสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค(BPPDS) - กองควบคุมโรคติดต่อจัดสรรวัคซีนให้กับศูนย์บริการสาธารณสุข
ตัวชี้วัดคือร้อยละของการให้บริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ในกลุ่มเป้าหมาย ค่าเป้าหมาย ร้อยละ 70 ผลการดำเนินงาน ร้อยละ 83.6 ของกลุ่มเป้าหมายได้รับการบริการฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ วิธีคำนวณ จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการฉีดวัคซีน * 100/จำนวนวัคซีนที่ได้รับการสนับสนุน 77,800 คน *100/93,020 คน = 83.6
๑.๕.๑๑ ประชาชนบริโภคอาหารที่มีความปลอดภัยจากเชื้อโรคและสารปนเปื้อนที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :80.00 ผลงาน :85.50 |
ได้รับการลงนามเห็นชอบในหลักการโครงการสถานศึกษาปลอดโรคติดต่อเมื่อวันที่ 6 ธันวาคม 2562 ขณะนี้อยู่ในขั้นตอนขออนุมัติโครงการและขอนุมัติงบประมาณ
-ชะลอการจัดประชุมเนื่องจากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สำนักอนามัยจึงมีหนังสือด่วนที่สุดที่ กท0708/1617 ลว. 21 กุมภาพันธ์ 2563 เรื่อง เลื่อนการอบรมโครงการสถานศึกษาปลอดโรคติดต่อ และตามหนังสือ ที่กท.02000/ป.69/2563 ลงวันที่ 10 มีนาคม 2563 ข้อสั่งการเรื่องที่ 10 ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเห็นชอบให้ทุกหน่วยงานเลื่อนการฝึกอบรม สัมมนา ศึกษา ดูงานในประเทศและต่างประเทศจนกว่าสถานการณ์ไวรัสโคโรนา 2019 จะปลอดภัย
-ชะลอการจัดประชุมเนื่องจากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สำนักอนามัยจึงมีหนังสือด่วนที่สุดที่ กท0708/1617 ลว. 21 กุมภาพันธ์ 2563 เรื่อง เลื่อนการอบรมโครงการสถานศึกษาปลอดโรคติดต่อ และตามหนังสือ ที่กท.02000/ป.69/2563 ลงวันที่ 10 มีนาคม 2563 ข้อสั่งการเรื่องที่ 10 ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเห็นชอบให้ทุกหน่วยงานเลื่อนการฝึกอบรม สัมมนา ศึกษา ดูงานในประเทศและต่างประเทศจนกว่าสถานการณ์ไวรัสโคโรนา 2019 จะปลอดภัย
ร้อยละ 85.5 ของผู้เข้าร่วมกิจกรรมเสริมสร้างความรู้เรื่องโรคติดต่อที่สำคัญตามฤดูกาล วิธีการคำนวณ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้เรื่องโรคติดต่อที่สำคัญตามฤดูกาลตามเกณฑ์ที่กำหนด × 100 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด กลุ่มเป้าหมายที่มาจริง จำนวน 59 คน × 100 / กลุ่มเป้าหมายทั้งหมด จำนวน 69 คน = 85.5
๑.๕.๑๑ ประชาชนบริโภคอาหารที่มีความปลอดภัยจากเชื้อโรคและสารปนเปื้อนที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ | |
![]() |
หน่วยนับ :≥ร้อยละ เป้าหมาย :85.00 ผลงาน :100.92 |
(4.1) จำนวนชายมีเพศสัมพันธ์กับชายที่ตั้งเป้าหมายให้เข้าถึงข้อมูลความรู้และอุปกรณ์ป้องกัน ปี 2563 จำนวน 43,000 คน จำนวนชายมีเพศสัมพันธ์กับชายที่เข้าถึงข้อมูลความรู้และอุปกรณ์ป้องกัน จำนวน 4,099 คน คิดเป็นร้อยละ 9.53 (4.2) จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่มีชีวิตอยู่จากการคาดประมาณ ปี 2563 จำนวน 77,000 คน จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ยังมีชีวิตอยู่ในระบบการดูแลรักษา 3,448 คน คิดเป็นร้อยละ 4.48 (4.3) จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ยังมีชีวิตอยู่ในระบบการดูแลรักษา 3,448 คน จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ยังมีชีวิตอยู่และได้รับยาต้านไวรัส 1,700 คน คิดเป็นร้อยละ 49.30
(4.1) จำนวนชายมีเพศสัมพันธ์กับชายที่ตั้งเป้าหมายให้เข้าถึงข้อมูลความรู้และอุปกรณ์ป้องกัน ปี 2563 จำนวน 43,000 คน จำนวนชายมีเพศสัมพันธ์กับชายที่เข้าถึงข้อมูลความรู้และอุปกรณ์ป้องกัน จำนวน 21,701 คน คิดเป็นร้อยละ 50.47 (4.2) จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่มีชีวิตอยู่จากการคาดประมาณปี 2563 จำนวน 77,000 คน จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ยังมีชีวิตอยู่ในระบบการดูแลรักษา 57,653 คน คิดเป็นร้อยละ 74.87 (4.3) จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ยังมีชีวิตอยู่ในระบบการดูแลรักษา 57,653 คน จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ยังมีชีวิตอยู่และได้รับยาต้านไวรัส 41,296 คน คิดเป็นร้อยละ 71.63
(4.1) จำนวนชายมีเพศสัมพันธ์กับชายที่ตั้งเป้าหมายให้เข้าถึงข้อมูลความรู้และอุปกรณ์ป้องกัน ปี 2563 จำนวน 43,000 คน จำนวนชายมีเพศสัมพันธ์กับชายที่เข้าถึงข้อมูลความรู้และอุปกรณ์ป้องกัน จำนวน 30,173 คน คิดเป็นร้อยละ 70.17 (4.2) จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่มีชีวิตอยู่จากการคาดประมาณปี 2563 จำนวน 77,000 คน จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ยังมีชีวิตอยู่ในระบบการดูแลรักษา 76,308 คน คิดเป็นร้อยละ 99.10 (4.3) จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ยังมีชีวิตอยู่ในระบบการดูแลรักษา (ตามนิยามที่ปรับ) 33,262 คน จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ยังมีชีวิตอยู่และได้รับยาต้านไวรัส 28,873 คน คิดเป็นร้อยละ 86.80
(4.1) จำนวนชายมีเพศสัมพันธ์กับชายที่ตั้งเป้าหมายให้เข้าถึงข้อมูลความรู้และอุปกรณ์ป้องกัน ปี 2563 จำนวน 43,000 คน จำนวนชายมีเพศสัมพันธ์กับชายที่เข้าถึงข้อมูลความรู้และอุปกรณ์ป้องกัน จำนวน 43,396 คน คิดเป็นร้อยละ 100.92 (4.2) จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่มีชีวิตอยู่จากการคาดประมาณปี 2563 จำนวน 77,000 คน จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ยังมีชีวิตอยู่ในระบบการดูแลรักษา 92,232 คน คิดเป็นร้อยละ 119.78 (4.3) จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ยังมีชีวิตอยู่ในระบบการดูแลรักษา (ตามนิยามที่ปรับ) 74,420 คน จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ยังมีชีวิตอยู่และได้รับยาต้านไวรัส 62,085 คน คิดเป็นร้อยละ 83.43
๑.๕.๑๑ ประชาชนบริโภคอาหารที่มีความปลอดภัยจากเชื้อโรคและสารปนเปื้อนที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ | |
![]() |
หน่วยนับ :>ร้อยละ เป้าหมาย :70.00 ผลงาน :63.15 |
1.กำหนดแผนการลงสำรวจดัชนีลูกน้ำยุงลายในชุมชน หมู่บ้านจัดสรร สถานพยาบาล สถานศึกษา 2.ประชุมเตรียมความพร้อมการดำเนินการแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกในพื้นที่กรุงเทพมหานคร กับสำนักงานเขต 50 เขต ศบส.68 แห่ง ในวันที่ 19 พฤศจิกายน 2562 ชุมชน 20 x 100 / 364 = 5.49 หมู่บ้านจัดสรร 2 x 100 / 395 = 0.50 สถานศึกษา 3 x 100 / 322 = 0.93 สถานพยาบาล 1 x 100/287 = 0.34
กำหนดแผนการลงสำรวจดัชนีลูกน้ำยุงลายในชุมชน หมู่บ้านจัดสรร สถานพยาบาล สถานศึกษา -ชุมชน 39 x 100 / 364 = 10.71 -หมู่บ้านจัดสรร 36 x 100 / 395 = 9.11 -สถานศึกษา 48 x 100 / 322 = 14.90 -สถานพยาบาล 32 x 100/287 = 11.14
-ชุมชน 81*100/364 = 22.25 -หมู่บ้านจัดสรร 59*100/395 = 14.94 -สถานศึกษา 73*100/322 = 22.67 -สถานพยาบาล 48*100/287 = 16.72
ดัชนีชี้วัดลูกน้ำยุงลายของกลุ่มเป้าหมายอยู่ในเกณฑ์ที่กำหนด -ชุมชน 485*100/768 = 63.15 -หมู่บ้านจัดสรร 78*100/395 = 19.74 -สถานศึกษา 555*100/650 = 85.38 -สถานพยาบาล 60*100/287 = 20.91
๑.๕.๑๑ ประชาชนบริโภคอาหารที่มีความปลอดภัยจากเชื้อโรคและสารปนเปื้อนที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ | |
![]() |
หน่วยนับ :0.0 ต่อแสนประชากร เป้าหมาย :0.00 ผลงาน :0.00 |
6.1 จำนวนสุนัขและสัตว์เลี้ยงที่ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า (ผลผลิต) ผลการดำเนินการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ให้กับสุนัขและสัตวเลี้ยงของประชาชน ในเขตกรุงเทพมหานคร ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 จำนวน 11,473 ตัว แบ่งเเป็นสุนัข จำนวน 5,698 ตัว แมว จำนวน 5,774 ตัว และสัตว์อื่น ๆ จำนวน 1 ตัว 6.2 ตรวจพบเชื้อโรคพิษสุนัขบ้าในตัวอย่างซากสุนัขและแมวที่ส่งตรวจลดลง 10% ของค่า Median 5 ปีย้อนหลัง(ผลลัพธ์) ผลการส่งตัวอย่างซากสุนัขและแมวตรวจทางห้องปฏิบัติการตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 ยังไม่พบเชื้อโรคพิษสุนัขบ้า 6.3 อัตราป่วยตายด้วยโรคพิษสุนัขบ้า (ผลลัพธ์) ผลการดำเนินงานตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 ยังไม่พบประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครป่วยตายด้วยโรคพิษสุนัขบ้า...//
6.1 จำนวนสุนัขและสัตว์เลี้ยงที่ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า(ผลผลิต) ผลการดำเนินการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าให้กับสุนัขและสัตวเลี้ยงของประชาชน ในเขตกรุงเทพมหานคร ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 จำนวน 81,657 ตัว แบ่งเเป็นสุนัข จำนวน 40,157 ตัว แมว จำนวน 41,242 ตัว และสัตว์อื่น ๆ จำนวน 258 ตัว 6.2 ตรวจพบเชื้อโรคพิษสุนัขบ้าในตัวอย่างซากสุนัขและแมวที่ส่งตรวจลดลง 10% ของค่า Median 5 ปีย้อนหลัง(ผลลัพธ์) (ค่า Median 5 ปีย้อนหลัง 5 ปี = 32 case ดังนั้นการตรวจพบลดลง 10% = 3.2 case ฉะนั้นตามตัวชี้วัด ปีงบฯ 63 จึงตรวจพบได้ไม่เกิน 32-3.2 = 28.8 case ปัดเศษขึ้น) ผลการส่งตัวอย่างซากสุนัขและแมวตรวจทางห้องปฏิบัติการตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 ยังไม่พบเชื้อโรคพิษสุนัขบ้า 6.3 อัตราป่วยตายด้วยโรคพิษสุนัขบ้า (ผลลัพธ์) ผลการดำเนินงานตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 ยังไม่พบประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครป่วยตายด้วยโรคพิษสุนัขบ้า...//
6.1 จำนวนสุนัขและสัตว์เลี้ยงที่ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า(ผลผลิต) ผลการดำเนินการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าให้กับสุนัขและสัตวเลี้ยงของประชาชน ในเขตกรุงเทพมหานคร ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 จำนวน 100,172 ตัว แบ่งเเป็นสุนัข จำนวน 48,684 ตัว แมว จำนวน 51,162 ตัว และสัตว์อื่น ๆ จำนวน 326 ตัว 6.2 ตรวจพบเชื้อโรคพิษสุนัขบ้าในตัวอย่างซากสุนัขและแมวที่ส่งตรวจลดลง 10% ของค่า Median 5 ปีย้อนหลัง(ผลลัพธ์) (ค่า Median 5 ปีย้อนหลัง 5 ปี = 32 case ดังนั้นการตรวจพบลดลง 10% = 3.2 case ฉะนั้นตามตัวชี้วัด ปีงบฯ 63 จึงตรวจพบได้ไม่เกิน 32-3.2 = 28.8 case ปัดเศษขึ้น) ผลการส่งตัวอย่างซากสุนัขและแมวตรวจทางห้องปฏิบัติการตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 ยังไม่พบเชื้อโรคพิษสุนัขบ้า 6.3 อัตราป่วยตายด้วยโรคพิษสุนัขบ้า (ผลลัพธ์) ผลการดำเนินงานตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 ยังไม่พบประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครป่วยตายด้วยโรคพิษสุนัขบ้า...//
6.1 จำนวนสุนัขและสัตว์เลี้ยงที่ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า(ผลผลิต) ผลการดำเนินการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าให้กับสุนัขและสัตวเลี้ยงของประชาชน ในเขตกรุงเทพมหานคร ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 จำนวน 111,955 ตัว แบ่งเเป็นสุนัข จำนวน 52,761 ตัว แมว จำนวน 58,856 ตัว และสัตว์อื่น ๆ จำนวน 338 ตัว 6.2 ตรวจพบเชื้อโรคพิษสุนัขบ้าในตัวอย่างซากสุนัขและแมวที่ส่งตรวจลดลง 10% ของค่า Median 5 ปีย้อนหลัง(ผลลัพธ์) (ค่า Median 5 ปีย้อนหลัง 5 ปี = 32 case ดังนั้นการตรวจพบลดลง 10% = 3.2 case ฉะนั้นตามตัวชี้วัด ปีงบฯ 63 จึงตรวจพบได้ไม่เกิน 32-3.2 = 28.8 case ปัดเศษขึ้น) ผลการส่งตัวอย่างซากสุนัขและแมวตรวจทางห้องปฏิบัติการตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 ยังไม่พบเชื้อโรคพิษสุนัขบ้า 6.3 อัตราป่วยตายด้วยโรคพิษสุนัขบ้า (ผลลัพธ์) ผลการดำเนินงานตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 ยังไม่พบประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครป่วยตายด้วยโรคพิษสุนัขบ้า...//
๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :66.00 ผลงาน :66.50 |
วิเคราะห์ข้อมูลผลการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียน/วางแผนรายละเอียดขั้นตอนในการดำเนินงาน/กำหนดแผนการดำเนินงานและประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง/จัดทำหนังสือขอความร่วมมือหน่วยงานสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชนเพื่อขอความร่วมมือเข้าร่วมกิจกรรมฯ เฝ้าระวังภาวะโภชนาการโดยการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง
1. นักเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานคร และนอกสังกัดกรุงเทพมหานคร ที่ได้รับการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและเข้าร่วมดำเนินมาตรการป้องกันโรคอ้วนและภาวะทุพโภชนาการในโรงเรียน สังกัดกรุงเทพมหานคร 244 แห่ง นอกสังกัดกรุงเทพมหานคร สพฐ. 41 แห่ง เอกชน 90 แห่ง รวม 375 แห่ง จำนวน 274,849 คน จากเป้าหมายทั้งหมด 383,038 คน คิดเป็นร้อยละ 71.76 รวบรวมผลการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการของนักเรียนโดยการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ประเมินภาวะโภชนาการปีการศึกษา 1/2562 นักเรียนในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร และนอกสังกัดกรุงเทพมหานคร ที่ มีภาวะโภชนาการสูงดีสมส่วน 174,804 คน คิดเป็นร้อยละ 63.6 2.อยู่ระหว่างติดตามข้อมูลการดำเนินการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนโรงเรียนที่เหลือ 3. จัดทำแผนการดำเนินกิจกรรมป้องกันโรคอ้วนและภาวะทุพโภชนาการในโรงเรียน 4. วางแผนรายละเอียดขั้นตอนในการดำเนินงาน 5. กำหนดแผนการดำเนินงานและประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง - จัดทำแบบประเมินการดำเนินงานมาตรการป้องกันโรคอ้วนและทุพโภชนาการในโรงเรียน - จัดส่งแบบประเมินการดำเนินงานเฝ้าระวังภาวะโภชนาการในโรงเรียนให้ศูนย์บริการสาธารณสุข 68 แห่ง 6. จัดทำหนังสือขอความร่วมมือไปยังหน่วยงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.)และสำนักงานคณะกรรมส่งเสริมการศึกษาเอกชน (สช.)เพื่อขอความอนุเคราะห์ประสานขอความร่วมมือโรงเรียนในสังกัดสพฐ.และสช. เข้าร่วมกิจกรรมป้องกันโรคอ้วนและภาวะทุพโภชนาการในโรงเรียนและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการของนักเรียนโดยการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ประเมินภาวะโภชนาการ ปีละ 2 ครั้ง (เทอม1 และเทอม2) 7. อยู่ระหว่างรวบรวมแบบรายงานการดำเนินงานการจัดกิจกรรมป้องกัน แก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการเกินและอ้วน ในโรงเรียน 8. อยู่ระหว่างรวบรวมภาวะทุพโภชนาการในโรงเรียนและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการของนักเรียนโดยการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ประเมิน ภาวะโภชนาการ ปีการศึกษา 2/2562 โครงการการขับเคลื่อนพระราชบัญญัติควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็ก พ.ศ.2560 1. ดำเนินการขออนุมัติโครงการ 2. วางแผนกำหนดหลักสูตรและรูปแบบ การอบรมเชิงปฏิบัติการ 3. ประสานงานวิทยากรเกี่ยวกับหลักสูตรการสอน และสถานที่ในการจัดอบรมฯ 4. จัดทำหนังสือเชิญอบรมเชิงปฏิบัติการและแบบตอบรับการเข้าร่วมการอบรมฯ 5. รวบรวมแบบตอบรับและจัดทำคำสั่งผู้เข้าร่วมอบรมฯและคำสั่งคณะกรรมการดำเนินการ 6. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการฯ "โครงการการขับเคลื่อนพระราชบัญญัติควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็ก พ.ศ.2560" ณ ห้องปรินซ์บอลรูม 3 ชั้น 11 โรงแรมปรินซ์พาเลส มหานาค วันที่ 13-14 กุมภาพันธ์ 2562 โดยมีผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน 129 คน วิทยากร จำนวน 3 คน เจ้าหน้าที่ดำเนินการ 14 คน รวม 146 คน 7. รวบรวมเอกสารค่าใช้จ่ายการอบรมเพื่อประกอบการตั้งฎีกาความก้าวหน้างาน 8. จัดทำหนังสือถึงผู้อำนวยการศูนย์บริการสาธารณสุขทั้ง 68 แห่ง ขอความร่วมมือจัดส่งแผนการดำเนินงานเพื่อขับเคลื่อนพระราชบัญญัติควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ.2560
จัดทำหนังสือขอปรับเปลี่ยนแบบฟอร์มการลงข้อมูลผลการชั่งน้ำหนักเด็กนักเรียน / รวบรวมข้อมูลและติดตามรายงานจากศูนย์บริการสาธารณสุข / ตรวจสอบรายงาน วิเคราะห์และสรุปผลนักเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานคร และนอกสังกัดกรุงเทพมหานคร ที่ได้รับการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและเข้าร่วมดำเนินมาตรการป้องกันโรคอ้วนและภาวะทุพโภชนาการในโรงเรียน สังกัดกรุงเทพมหานคร 437 แห่ง สังกัด สพฐ.62 แห่ง สังกัดเอกชน 140 แห่ง รวม 639 แห่ง จำนวน 406,070 คน จากเป้าหมายทั้งหมด 406,070 คน คิดเป็นร้อยละ 100 และประเมินภาวะโภชนาการปีการศึกษา 1/2562 ของเด็กนักเรียนในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร และนอกสังกัดกรุงเทพมหานคร ที่มีภาวะโภชนาการสูงดีสมส่วน 269,387 คิดเป็นร้อยละ 66.34 / อยู่ระหว่างรวบรวมข้อมูลและติดตามรายงานปีการศึกษา 2/2562 จากศูนย์บริการสาธารณสุข โครงการการขับเคลื่อนพระราชบัญญัติควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ.2560 ประสานงานกับศูนย์บริการสาธารณสุข 68 แห่งและรวบรวมแผนการดำเนินงานการขับเคลื่อนพระราชบัญญัติฯ
ส่งเอกสารการดำเนินการกิจกรรมป้องกันโรคอ้วนและภาวะทุพโภชนาการในโรงเรียน ประจำปีการศึกษา 2563/จัดทำหนังสือถึง ผู้อำนวยการสำนักงานเขต เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและเลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน เรื่อง ผลการดำเนินงานและขอความร่วมมือเข้าร่วมกิจกรรมป้องกันโรคอ้วนและภาวะทุพโภชนาการในโรงเรียน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 ตรวจสอบและวิเคราะห์ข้อมูลของภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 / สรุปผลการรวบรวมผลการดำเนินการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียนโดยการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ประเมินภาวะโภชนาการเด็กและเยาวชนในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครและนอกสังกัดได้รับการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการปีการศึกษา 2/2562 จำนวน 415,117 คนและมีภาวะโภชนาการสูงดีสมส่วน 276,053 คน คิดเป็นร้อยละ 66.50 /จัดทำหนังสือถึงผู้อำนวยศูนย์บริการสาธารณสุข 20 แห่ง (ศูนย์ฯ 1, 9, 16, 17, 19, 21, 23, 24, 30, 31, 36, 40, 51, 53, 58, 62, 63, 64, 67, 68) เรื่อง เชิญประชุมสรุปผลการดำเนินงานการขับเคลื่อนพระราชบัญญัติควบคุมการส่งเสริมการจลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ.2560 ร่วมกับสถาบันพัฒนาสุขภาวะเขตเมือง เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2563 ณ ห้องประชุมชั้น 19 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร 2 ดินแดง /รวบรวมแผนการดำเนินงานการขับเคลื่อนพระราชบัญญัติควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ. 2560 และแบบรายงานเชิงรุก /ส่งรายงานการประชุมสรุปผลการดำเนินงานการขับเคลื่อนพระราชบัญญัคิควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ.2560
๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :90.00 ผลงาน :90.10 |
ดำเนินการขออนุมัติโครงการ/วางแผนกำหนดหลักสูตรการอบรมเชิงปฏิบัติการและแนวทางการดำเนินงานโครงการ
ดำเนินการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการโครงการวัยทำงานสดใส ใส่ใจสุขภาพ ผู้เข้ารับการอบรม วิทยากร และเจ้าหน้าที่ จำนวน 135 คน เมื่อวันที่ 27-28 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมปริ๊นซพาเลซ มหานาค เขตป้อมปราบศัตรูพ่ายและจัดทำหนังสือถึงผู้อำนวยการศูนย์บริการสาธารณสุข 68 แห่ง เรื่องขอความร่วมมือดำเนินงานด้านการส่งเสริมสุขภาพบุคลากรในหน่วยงาน
จัดทำหนังสือถึงศูนย์บริการสาธารณสุข 68 แห่ง เรื่อง ขอความร่วมมือดำเนินงานด้านการส่งเสริมสุขภาพบุคลากรในหน่วยงาน ตามแนวทาง 10 แพคเกจ / ประสานงานและรวบรวมข้อมูลผลการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดรอบเอว ของบุคลากรในหน่วยงานก่อนเข้าร่วมการดำเนินงานด้านการส่งเสริมสุขภาพ ตามแนวทาง 10 แพคเกจ เพื่อนำมาประมวลผลและส่งคืนข้อมูลให้ศูนย์ฯ ได้ดำเนินการจัดกิจกรรม / ศูนย์บริการสาธารณสุขทั้ง 68 แห่งอยู่ระหว่างการดำเนินงานจัดกิจกรรมตามแนวทาง 10 แพคเกจ
-จัดทำหนังสือถึงผู้อำนวยศูนย์บริการสาธารณสุข 1-68 เรื่อง ขอส่งสื่อโภชนาการวัยทำงาน ประกอบด้วย 1.หนังสือเมนูอาหารเพื่อสุขภาพสำหรับทุกช่วงวัยในช่วง COVID-19 2.หนังสือแนวทางการดำเนินงานเมนูชูสุขภาพ 3.หนังสือคู่มือแนวทางการดำเนินงานโรงอาหารปลอดภัยใส่ใจสุขภาพ (Health Canteen) /จัดทำหนังสือถึงผู้อำนวยศูนย์บริการสาธารณสุข 1-68 เรื่อง ขอแจ้งระยะเวลาการติดตามโครงการวัยทำงานสดใส ใส่ใจสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ 2563 / สรุปการติดตามรวบรวมข้อมูลและประเมินผลโครงการวัยทำงานสดใส ใส่ใจสุขภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการฯ จำนวน 3,545 คน มีค่ารอบเอวหรือค่าดัชนีมวลกาย (BMI) เกิน จำนวน 2,031 คน และหลังเข้าร่วมโครงการมีค่ารอบเอวหรือค่าดัชนีมวลกาย (BMI) เกินลดลงจากเดิม จำนวน 1,830 คน คิดเป็นร้อยละ 90.10
๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร | |
![]() |
หน่วยนับ :คน เป้าหมาย :30,000.00 ผลงาน :44,997.00 |
รายงานผลการดำเนินกิจกรรมตรวจสุขภาพช่องปากและฝึกทักษะการทำความสะอาดช่องปากรายบุคคล (อายุ 40-59 ปีและ ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป) - จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการตรวจและฝึกทักษะการทำความสะอาดช่องปาก 10,845 คน คิดเป็น ร้อยละ 36.15
- รายงานผลการดำเนินกิจกรรมตรวจสุขภาพช่องปากและฝึกทักษะการทำความสะอาดช่องปากรายบุคคล (อายุ 40-59 ปีและ ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป) - จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการตรวจและฝึกทักษะการทำความสะอาดช่องปาก 29,325 คน คิดเป็น ร้อยละ 97.75
-รายงานผลการดำเนินกิจกรรมตรวจสุขภาพช่องปากและฝึกทักษะการทำความสะอาดช่องปากรายบุคคล (อายุ 40-59 ปีและ ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป) - จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการตรวจและฝึกทักษะการทำความสะอาดช่องปาก 38,516 คน คิดเป็น ร้อยละ 128.39
-รายงานผลการดำเนินกิจกรรมตรวจสุขภาพช่องปากและฝึกทักษะการทำความสะอาดช่องปากรายบุคคล (อายุ 40-59 ปีและ ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป) - จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการตรวจและฝึกทักษะการทำความสะอาดช่องปาก 44997 คน คิดเป็น ร้อยละ 150
๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :85.00 ผลงาน :90.06 |
อยู่ในระหว่างการรวบรวมข้อมูลจากศูนย์บริการสาธารณสุข 68 แห่ง
สำรวจอาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานครที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพในการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2562 รอบประเมินที่ 1 (1 ต.ค. 2562 - 31 มี.ค. 2563) จำนวน 9,560 คน จากอาสาสมัครสาธารณสุขที่ปฏิบัติงานทั้งหมดจำนวน 10,737 คน คิดเป็นร้อยละ 89.03
อยู่ในระหว่างการรวบรวมข้อมูลจากศูนย์บริการสาธารณสุข 68 แห่ง ในรอบประเมินที่ 2 (1 เม.ย. 2563 - 30 ก.ย. 2563) ผลการดำเนินงาน รอบประเมินที่ 1 (1 ต.ค. 2562 - 31 มี.ค. 2563) อาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานครที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพในการปฏิบัติงาน จำนวน 9,560 คน จากอาสาสมัครสาธารณสุขที่ปฏิบัติงานทั้งหมดจำนวน 10,737 คน คิดเป็นร้อยละ 89.03
สำรวจอาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานครที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพในการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2563 รอบประเมินที่ 2 (1 เม.ย. 2563 - 30 ก.ย. 2563) อาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานครที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพในการปฏิบัติงาน จำนวน 9,670 คน จากอาสาสมัครสาธารณสุขที่ปฏิบัติงาน ทั้งหมด จำนวน 10,737 คน คิดเป็นร้อยละ 90.06
๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร | |
![]() |
หน่วยนับ :เครือข่าย เป้าหมาย :18.00 ผลงาน :18.00 |
อยู่ในระหว่างการรวบรวมข้อมูลเครือข่ายที่เข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมสุขภาพ
คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับเขต (พชข.) ที่เข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพ จำนวน 16 เครือข่าย ได้แก่ เขตดอนเมือง เขตบางซื่อ เขตประเวศ เขตหนองแขม เขตคลองเตย เขตทุ่งครุ เขตธนบุรี เขตบางกอกน้อย เขตบางขุนเทียน เขตบึงกุ่ม เขตปทุมวัน เขตลาดพร้าว เขตวัฒนา เขตสวนหลวง เขตสัมพันธวงศ์ เขตห้วยขวาง
คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับเขต (พชข.) ที่เข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพ จำนวน 16 เครือข่าย ได้แก่ เขตดอนเมือง เขตบางซื่อ เขตประเวศ เขตหนองแขม เขตคลองเตย เขตทุ่งครุ เขตธนบุรี เขตบางกอกน้อย เขตบางขุนเทียน เขตบึงกุ่ม เขตปทุมวัน เขตลาดพร้าว เขตวัฒนา เขตสวนหลวง เขตสัมพันธวงศ์ เขตห้วยขวาง
คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับเขต (พชข.) ที่เข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพ จำนวน 18 เครือข่าย ได้แก่ เขตดอนเมือง เขตบางซื่อ เขตประเวศ เขตหนองแขม เขตคลองเตย เขตทุ่งครุ เขตธนบุรี เขตบางกอกน้อย เขตบางขุนเทียน เขตบึงกุ่ม เขตปทุมวัน เขตลาดพร้าว เขตวัฒนา เขตสวนหลวง เขตสัมพันธวงศ์ เขตห้วยขวาง เขตมีนบุรี เขตจอมทอง
๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร | |
![]() |
หน่วยนับ :ไม่น้อยกว่าร้อยละ เป้าหมาย :10.00 ผลงาน :11.11 |
อยู่ระหว่างประสานเภสัชกรศูนย์บริการสาธารณสุขและเภสัชกรประจำร้านยาเพื่อกำหนดวันและเวลาในการเข้าตรวจเยี่ยมร้านยาเครือข่ายความร่วมมือในการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักอนามัย เดิม และร้านยาที่สมัครเข้าร่วมใหม่
ปีงบประมาณ 2562 กองเภสัชกรรม สำนักอนามัย มีร้านยาเครือข่ายฯ จำนวน 72 ร้าน ปิดกิจการจำนวน 4 ร้าน คงเหลือร้านยาเครือข่ายฯ จำนวน 68 ร้าน และในปีงบประมาณ 2563 ได้ดำเนินการตรวจเยี่ยมร้านยาเครือข่ายฯ แล้วเสร็จจำนวนทั้งสิ้น 41 ร้าน ประกอบด้วยกลุ่มกรุงเทพกลาง จำนวน 19 ร้าน กลุ่มกรุงเทพใต้ จำนวน 12 ร้าน และกลุ่มกรุงเทพเหนือ จำนวน 10 ร้าน ซึ่งทั้ง 41 ร้าน อยู่ระหว่างรอคณะกรรมการเครือข่ายฯ พิจารณาประเมิน และอยู่ระหว่างประสานแจ้งปรับเปลี่ยนแนวทางการตรวจเยี่ยมร้านยาเครือข่ายฯ เพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน
ผู้อำนวยการสำนักอนามัย อนุมัติให้ปรับเปลี่ยนแนวทางการประเมินตัวชี้วัดมิติที่ 1 ประสิทธิผลตามพันธกิจ ตามหนังสือกองเภสัชกรรมที่ กท 0710/311 ลงวันที่ 20 เมษายน 2563 และอยู่ระหว่างติดตามผลการตำเนินงานของร้านยาเครือข่ายฯ
ที่ประชุมคณะกรรมการร้านยาเครือข่ายความร่วมมือในการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักอนามัย มีมติรับรองร้านยาที่สมัครเข้าร่วมเป็นร้านยาภายใต้โครงการเครือข่ายฯ ประจำปีงบประมาณ 2563 ทั้งสิ้น 12 ร้าน และให้ร้านยาภายใต้โครงการเครือข่ายฯ เดิมผ่านการประเมินจำนวน 68 ร้าน รวมมีร้านยาเครือข่ายฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ทั้งสิ้น 80 ร้าน (ปีงบประมาณ 2562 มีร้านยาภายใต้โครงการเครือข่ายฯ ทั้งสิ้น 72 ร้าน ปิดกิจการ จำนวน 3 ร้าน และไม่ประสงค์เข้าร่วมเป็นร้านยาภายใต้โครงการเครือข่ายฯ ต่อ จำนวน 1 ร้าน)
๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร | |
![]() |
หน่วยนับ :แห่ง เป้าหมาย :13.00 ผลงาน :13.00 |
อยู่ระหว่างการแจ้งแผนและแนวทางการดำเนินงานให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ
คลินิก Bangkok Teen Care (BTC) ในศูนย์บริการสาธารณสุขประเมินตนเองตามมาตรฐานการจัดบริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่น (คลินิก Bangkok Teen Care : BTC ) ผ่านตามมาตรฐาน 13 แห่ง
ติดตามการดำเนินงานของคลินิก Bangkok Teen Care (BTC) ในศูนย์บริการสาธารณสุข
จัดบริการที่เป็นมิตรกับกลุ่มเป้าหมายในศูนย์บริการสาธารณสุข 13 แห่ง ได้แก่ ศบส. 3, 4, 9, 21, 23, 25, 26, 28, 29, 36, 41, 43 และ 48
๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร | |
![]() |
หน่วยนับ :≥ร้อยละ เป้าหมาย :70.00 ผลงาน :100.00 |
บริการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงภาวะซึมเศร้าในคลินิกครอบครัวอบอุ่นในศูนย์บริการสาธารณสุข 68 แห่งของสำนักอนามัย บริการให้คำปรึกษาแก่ผู้รับบริการที่มีความเสี่ยงภาวะซึมเศร้าและให้บริการสุขภาพจิตครอบครัวแก่ผู้รับบริการ มีผู้รับบริการ 1,048 คน พบเสี่ยงภาวะซึมเศร้า จำนวน 93 คน ได้รับการดูแลช่วยเหลือ จำนวน 93 คน คิดเป็นร้อยละ 100
-ดำเนินการบริการคัดกรองผู้รับบริการคลินิกครอบครัวอบอุ่นและคัดกรองกลุ่มเสี่ยงภาวะซึมเศร้า ในศูนย์บริการสาธารณสุข 68 แห่ง ดูแลช่วยเหลือผู้รับบริการที่มีความเสี่ยงภาวะซึมเศร้าและให้บริการปรึกษาปัญหาครอบครัวแก่ผู้รับบริการ มีผู้รับบริการ 2,954 คน พบเสี่ยงภาวะซึมเศร้า จำนวน 222 คน ได้รับการดูแลช่วยเหลือ จำนวน 222 คน คิดเป็นร้อยละ 100
-ให้บริการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงภาวะซึมเศร้าในศูนย์บริการสาธารณสุข 68 แห่ง สำนักอนามัย บริการให้คำปรึกษาแก่ผู้รับบริการที่มีความเสี่ยงภาวะซึมเศร้าและให้บริการปรึกษาสุขภาพจิตครอบครัว มีผู้รับบริการ 3,966 คน พบเสี่ยงภาวะซึมเศร้า จำนวน 265 คน ได้รับการดูแลช่วยเหลือ 265 คน คิดเป็นร้อยละ 100
ให้บริการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงภาวะซึมเศร้าในคลินิกครอบครัวอบอุ่น ศูนย์บริการสาธารณสุข 68 แห่ง โดยบริการให้คำปรึกษา แนะนำ ดูแลแก่ผู้รับบริการที่มีความเสี่ยงภาวะซึมเศร้า รวมถึงให้บริการปรึกษาสุขภาพจิตครอบครัวและผู้รับบริการอื่นๆ มีผู้รับบริการ จำนวน 5,374 คน พบเสี่ยงภาวะซึมเศร้า จำนวน 324 คน ได้รับการดูแลช่วยเหลือ จำนวน 324 คน คิดเป็นร้อยละ 100
๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :80.00 ผลงาน :50.66 |
อยู่ระหว่างการแจ้งแผนและแนวทางการดำเนินงานให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ
ผลการดำเนินงานดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานของศูนย์บริการสาธารณสุข เดือนตุลาคม 2562-เดือนกุมภาพันธ์ 2563 มีผู้มารับบริการรักษาโรคเบาหวานที่ได้รับการดูแลตามเกณฑ์ จำนวน 6,623 คน จากจำนวนผู้มารับบริการรักษาโรคเบาหวานทั้งหมด จำนวน 16,521 คน คิดเป็นร้อยละ 40.09
ผลการดำเนินงานดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานของศูนย์บริการสาธารณสุข เดือนตุลาคม 2562-เดือนพฤษภาคม 2563 มีผู้มารับบริการรักษาโรคเบาหวานที่ได้รับการดูแลตามเกณฑ์ จำนวน 7,426 คน จากจำนวนผู้มารับบริการรักษาโรคเบาหวานทั้งหมด จำนวน 17,345 คน คิดเป็นร้อยละ 42.81
ผลการดำเนินงานดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานของศูนย์บริการสาธารณสุข เดือนตุลาคม 2562-เดือนสิงหาคม 2563 มีผู้มารับบริการรักษาโรคเบาหวานที่ได้รับการดูแลตามเกณฑ์ จำนวน 8,875 คน จากจำนวนผู้มารับบริการรักษาโรคเบาหวานทั้งหมด จำนวน 17,518 คน คิดเป็นร้อยละ 50.66
๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :35.00 ผลงาน :30.83 |
อยู่ระหว่างการแจ้งแผนและแนวทางการดำเนินงานให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ
ผลการดำเนินงาน เดือนตุลาคม 2562-เดือนกุมภาพันธ์ 2563 พบว่า ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ได้รับการดูแลตามเกณฑ์มีระดับค่าน้ำตาลอยู่ในเกณฑ์ที่ควบคุมได้(HbA1c) ครั้งสุดท้ายน้อยกว่า 7 % จำนวน 1,325 คน จากจำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ได้รับการดูแลตามเกณฑ์ทั้งหมด จำนวน 6,623 คน คิดเป็นร้อยละ 20
ผลการดำเนินงาน เดือนตุลาคม 2562-เดือนพฤษภาคม 2563 พบว่า ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ได้รับการดูแลตามเกณฑ์มีระดับค่าน้ำตาลอยู่ในเกณฑ์ที่ควบคุมได้(HbA1c) ครั้งสุดท้ายน้อยกว่า 7 % จำนวน 2,096 คน จากจำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ได้รับการดูแลตามเกณฑ์ทั้งหมด จำนวน 7,426 คน คิดเป็นร้อยละ 28.23
ผลการดำเนินงาน เดือนตุลาคม 2562-เดือนสิงหาคม 2563 พบว่า ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ได้รับการดูแลตามเกณฑ์มีระดับค่าน้ำตาลอยู่ในเกณฑ์ที่ควบคุมได้ (HbA1c) ครั้งสุดท้ายน้อยกว่า 7 %) จำนวน 2,ึ736 คน จากจำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ได้รับการดูแลตามเกณฑ์ทั้งหมด จำนวน 8,875 คน คิดเป็นร้อยละ 30.83
๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :80.00 ผลงาน :56.77 |
อยู่ระหว่างการแจ้งแผนและแนวทางการดำเนินงานให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ
ผลการดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงของศูนย์บริการสาธารณสุข เดือนตุลาคม 2562-เดือนกุมภาพันธ์ 2563 มีผู้มารับบริการรักษาโรคความดันโลหิตสูงที่ได้รับการดูแลตามเกณฑ์ จำนวน 7,315 คน จากจำนวนผู้มารับบริการรักษาโรคความดันโลหิตสูงทั้งหมด จำนวน 18,125 คน คิดเป็นร้อยละ 40.36
ผลการดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงของศูนย์บริการสาธารณสุข เดือนตุลาคม 2562-เดือนพฤษภาคม 2563 มีผู้มารับบริการรักษาโรคความดันโลหิตสูงที่ได้รับการดูแลตามเกณฑ์ จำนวน 8,152 คน จากจำนวนผู้มารับบริการรักษาโรคความดันโลหิตสูงทั้งหมด จำนวน 19,965 คน คิดเป็นร้อยละ 40.83
ผลการดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงของศูนย์บริการสาธารณสุข เดือนตุลาคม 2562-เดือนสิงหาคม 2563 มีผู้มารับบริการรักษาโรคความดันโลหิตสูงที่ได้รับการดูแลตามเกณฑ์ จำนวน 11,411 คน จากจำนวนผู้มารับบริการรักษาโรคความดันโลหิตสูงทั้งหมด จำนวน 20,100 คน คิดเป็นร้อยละ 56.77
๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :35.00 ผลงาน :41.92 |
อยู่ระหว่างการแจ้งแผนและแนวทางการดำเนินงานให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ
ผลการดำเนินงาน เดือนตุลาคม 2562-เดือนกุมภาพันธ์ 2563 พบว่า ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ได้รับการดูแลตามเกณฑ์มีระดับค่าความดันโลหิต 2 ครั้ง สุดท้ายน้อยกว่า 140/90 มม.ปรอท จำนวน 1,615 คน จากจำนวนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ได้รับการดูแลตามเกณฑ์ทั้งหมด 7,315 คน คิดเป็นร้อยละ 22.08
ผลการดำเนินงาน เดือนตุลาคม 2562-เดือนพฤษภาคม 2563 พบว่า ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ได้รับการดูแลตามเกณฑ์มีระดับค่าความดันโลหิต 2 ครั้ง สุดท้ายน้อยกว่า 140/90 มม.ปรอท จำนวน 2,748 คน จากจำนวนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ได้รับการดูแลตามเกณฑ์ทั้งหมด 8,152 คน คิดเป็นร้อยละ 33.71
ผลการดำเนินงาน เดือนตุลาคม 2562-เดือนสิงหาคม 2563 พบว่า ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ได้รับการดูแลตามเกณฑ์มีระดับค่าความดันโลหิต 2 ครั้ง สุดท้ายน้อยกว่า 140/90 มม.ปรอท จำนวน 4,784 คน จากจำนวนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ได้รับการดูแลตามเกณฑ์ทั้งหมด 11,411 คน คิดเป็นร้อยละ 41.92
๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร | |
![]() |
หน่วยนับ :>คน เป้าหมาย :12,500.00 ผลงาน :8,640.00 |
ชี้แจงแนวทางการตรวจคัดกรองมะเร็งสตรี ปีงบประมาณ 2563 ให้กับผู้เกี่ยวข้องทราบ รวบรวมผลการดำเนินงานเดือนตุลาคม-พฤศจิกายน 2562 มีสตรีได้รับบริการตรวจมะเร็งเต้านม จำนวน 767 คน คิดเป็นร้อยละ 6.14 ของเป้าหมาย
ผลการดำเนินงานเดือนตุลาคม 2562 - กุมภาพันธ์ 2563 มีสตรีได้รับบริการตรวจมะเร็งเต้านม จำนวน 6,088 คน คิดเป็นร้อยละ 48.70 ของเป้าหมาย
ผลการดำเนินงานเดือนตุลาคม 2562 - พฤษภาคม 2563 มีสตรีได้รับบริการตรวจมะเร็งเต้านม จำนวน 7,750 คน คิดเป็นร้อยละ 62.00 ของเป้าหมาย
ผลการดำเนินงานเดือนตุลาคม 2562 - กันยายน 2563 มีสตรีได้รับบริการตรวจมะเร็งเต้านม จำนวน 8,640 คน (คิดเป็นร้อยละ 138.24 ของเป้าหมาย
๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร | |
![]() |
หน่วยนับ :>คน เป้าหมาย :7,500.00 ผลงาน :7,489.00 |
ชี้แจงแนวทางการตรวจคัดกรองมะเร็งสตรี ปีงบประมาณ 2563 ให้กับผู้เกี่ยวข้องทราบ รวบรวมผลการดำเนินงานเดือนตุลาคม-พฤศจิกายน 2562 มีสตรีได้รับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูก จำนวน 630 คน คิดเป็นร้อยละ 8.40 ของเป้าหมาย
ผลการดำเนินงานเดือนตุลาคม 2562-กุมภาพันธ์ 2563 มีสตรีได้รับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูก จำนวน 4,797 คน คิดเป็นร้อยละ 63.96 ของเป้าหมาย
ผลการดำเนินงานเดือนตุลาคม 2562-พฤษภาคม 2563 มีสตรีได้รับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูก จำนวน 6,825 คน คิดเป็นร้อยละ 91.00 ของเป้าหมาย
ผลการดำเนินงานเดือนตุลาคม 2562–เดือนกันยายน 2563 มีสตรีได้รับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูก จำนวน 7,489 คน คิดเป็นร้อยละ 149.78 ของเป้าหมาย
๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :100.00 |
จัดทำสื่อความรู้เพื่อการสนับสนุนการดำเนินงานด้านอาชีวอนามัย การคุ้มครองผู้บริโภค และที่เกี่ยวข้องของกรุงเทพมหานคร 1. จัดทำหนังสือ “เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติงานด้านอาชีวอนามัย สำหรับเจ้าหน้าที่กรุงเทพมหานคร เพื่อตรวจแนะนำสถานประกอบกิจการกลุ่มเสี่ยง : กลุ่มกิจการที่เกี่ยวกับสิ่งทอ ประเภทการเย็บ ปักผ้า หรือ สิ่งทออื่นๆด้วยเครื่องจักร” จำนวน 420 เล่ม พร้อมจัดส่งให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2. จัดทำหนังสือ “ความรู้ด้านอาชีวอนามัยเพื่อการจัดสภาพสถานที่ทำงานให้สะอาด ปลอดโรค ปลอดภัย : กลุ่มกิจการที่เกี่ยวกับหิน ดิน ทราย ซีเมนต์ หรือวัตถุที่คล้ายกัน” จำนวน 420 เล่ม พร้อมจัดส่งให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3. จัดทำหนังสือ “พัฒนางานอาชีวอนามัยของกรุงเทพมหานครและสนับสนุนการดำเนินงานตามตัวชี้วัดที่ 4.2 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานของหน่วยงานกรุงเทพมหานคร” จำนวน 1,700 เล่ม พร้อมจัดส่งให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 4. จัดทำแบบประเมินด้านอาชีวอนามัยเพื่อการจัดการความเสี่ยงจากปัญหาการยศาสตร์ของบุคลากรและหน่วยงานกรุงเทพมหานคร จำนวน 1,700 ชุด พร้อมจัดส่งให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 5. จัดทำแผ่นพับ“ประกอบอาชีพ(เย็บผ้า)อย่างมีความสุขปลอดโรคปลอดภัย มีสุขภาพอนามัยในการทำงานที่ดี”จำนวน 10,000 แผ่น พร้อมจัดส่งให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
จัดทำสื่อความรู้เพื่อการสนับสนุนการดำเนินงานด้านอาชีวอนามัย การคุ้มครองผู้บริโภค และที่เกี่ยวข้องของกรุงเทพมหานคร จำนวน 5 รายการ 1. จัดทำหนังสือ “เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติงานด้านอาชีวอนามัย สำหรับเจ้าหน้าที่กรุงเทพมหานคร เพื่อตรวจแนะนำสถานประกอบกิจการกลุ่มเสี่ยง : กลุ่มกิจการที่เกี่ยวกับสิ่งทอ ประเภทการเย็บ ปักผ้า หรือ สิ่งทออื่นๆด้วยเครื่องจักร” จำนวน 420 เล่ม พร้อมจัดส่งให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2. จัดทำหนังสือ “ความรู้ด้านอาชีวอนามัยเพื่อการจัดสภาพสถานที่ทำงานให้สะอาด ปลอดโรค ปลอดภัย : กลุ่มกิจการที่เกี่ยวกับหิน ดิน ทราย ซีเมนต์ หรือวัตถุที่คล้ายกัน” จำนวน 420 เล่ม พร้อมจัดส่งให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3. จัดทำหนังสือ “พัฒนางานอาชีวอนามัยของกรุงเทพมหานครและสนับสนุนการดำเนินงานตามตัวชี้วัดที่ 4.2 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานของหน่วยงานกรุงเทพมหานคร” จำนวน 1,700 เล่ม พร้อมจัดส่งให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 4. จัดทำแบบประเมินด้านอาชีวอนามัยเพื่อการจัดการความเสี่ยงจากปัญหาการยศาสตร์ของบุคลากรและหน่วยงานกรุงเทพมหานคร จำนวน 1,700 ชุด พร้อมจัดส่งให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 5. จัดทำแผ่นพับ“ประกอบอาชีพ(เย็บผ้า)อย่างมีความสุขปลอดโรคปลอดภัย มีสุขภาพอนามัยในการทำงานที่ดี”จำนวน 10,000 แผ่น พร้อมจัดส่งให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ในช่วงสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 สำนักงานเขตจำเป็นต้องใช้กำลังเจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติภารกิจเร่งด่วนและเป็นไปอย่างต่อเนื่องเพื่อการป้องกัน ควบคุม และแก้ไขวิกฤตการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จึงขอปรับเปลี่ยนตัวชี้วัด จากเดิม : ร้อยละสถานประกอบการที่ได้รับการสนับสนุนในการส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจ เพื่อการปฏิบัติงานด้านอาชีวอนามัยอย่างถูกต้องเหมาะสม เปลี่ยนเป็น : ร้อยละสำนักงานเขตได้รับสื่อความรู้ด้านอาชีวอนามัย เพื่อส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจด้านอาชีวอนามัยให้แก่สถานประกอบการกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ ตามหนังสือ ที่ กท 0704/568 ลงวันที่ 21 พฤษภาคม 2563 เรื่อง ขอความเห็นชอบและอนุมัติการดำเนินการเกี่ยวกับการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ.2563 ในช่วงสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 สำนักอนามัยจัดส่งสื่อประชาสัมพันธ์ไปยัง 50 สำนักงานเขต จำนวน 4 รายการตามหนังสือสำนักอนามัย ที่ กท 0704/3125 ลงวันที่ 10 เมษายน 2563 เรื่อง สนับสนุนการดำเนินงานด้านอาชีวอนามัยและเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานของสำนักงานเขต ดังนี้ 1. หนังสือ “เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติงานด้านอาชีวอนามัย สำหรับเจ้าหน้าที่กรุงเทพมหานคร เพื่อตรวจแนะนำสถานประกอบกิจการกลุ่มเสี่ยง : กลุ่มกิจการที่เกี่ยวกับสิ่งทอ ประเภทการเย็บ ปักผ้า หรือ สิ่งทออื่นๆด้วยเครื่องจักร” จำนวน 420 เล่ม 2. หนังสือ “ความรู้ด้านอาชีวอนามัยเพื่อการจัดสภาพสถานที่ทำงานให้สะอาด ปลอดโรค ปลอดภัย : กลุ่มกิจการที่เกี่ยวกับหิน ดิน ทราย ซีเมนต์ หรือวัตถุที่คล้ายกัน” จำนวน 420 เล่ม 3. หนังสือ “พัฒนางานอาชีวอนามัยของกรุงเทพมหานครและสนับสนุนการดำเนินงานตามตัวชี้วัดที่ 4.2 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานของหน่วยงานกรุงเทพมหานคร” จำนวน 1,700 เล่ม 4. แผ่นพับ“ประกอบอาชีพ(เย็บผ้า)อย่างมีความสุขปลอดโรคปลอดภัย มีสุขภาพอนามัยในการทำงานที่ดี”จำนวน 10,000 แผ่น
ในช่วงสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 สำนักงานเขตจำเป็นต้องใช้กำลังเจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติภารกิจเร่งด่วนและเป็นไปอย่างต่อเนื่องเพื่อการป้องกัน ควบคุม และแก้ไขวิกฤตการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จึงขอปรับเปลี่ยนตัวชี้วัด จากเดิม : ร้อยละสถานประกอบการที่ได้รับการสนับสนุนในการส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจ เพื่อการปฏิบัติงานด้านอาชีวอนามัยอย่างถูกต้องเหมาะสม เปลี่ยนเป็น : ร้อยละสำนักงานเขตได้รับสื่อความรู้ด้านอาชีวอนามัย เพื่อส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจด้านอาชีวอนามัยให้แก่สถานประกอบการกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ ตามหนังสือ ที่ กท 0704/568 ลงวันที่ 21 พฤษภาคม 2563 เรื่อง ขอความเห็นชอบและอนุมัติการดำเนินการเกี่ยวกับการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ.2563 ในช่วงสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 สำนักอนามัยจัดส่งสื่อประชาสัมพันธ์ไปยัง 50 สำนักงานเขต จำนวน 4 รายการตามหนังสือสำนักอนามัย ที่ กท 0704/3125 ลงวันที่ 10 เมษายน 2563 เรื่อง สนับสนุนการดำเนินงานด้านอาชีวอนามัยและเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานของสำนักงานเขต ดังนี้ 1. หนังสือ “เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติงานด้านอาชีวอนามัย สำหรับเจ้าหน้าที่กรุงเทพมหานคร เพื่อตรวจแนะนำสถานประกอบกิจการกลุ่มเสี่ยง : กลุ่มกิจการที่เกี่ยวกับสิ่งทอ ประเภทการเย็บ ปักผ้า หรือ สิ่งทออื่นๆด้วยเครื่องจักร” จำนวน 420 เล่ม 2. หนังสือ “ความรู้ด้านอาชีวอนามัยเพื่อการจัดสภาพสถานที่ทำงานให้สะอาด ปลอดโรค ปลอดภัย : กลุ่มกิจการที่เกี่ยวกับหิน ดิน ทราย ซีเมนต์ หรือวัตถุที่คล้ายกัน” จำนวน 420 เล่ม 3. หนังสือ “พัฒนางานอาชีวอนามัยของกรุงเทพมหานครและสนับสนุนการดำเนินงานตามตัวชี้วัดที่ 4.2 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานของหน่วยงานกรุงเทพมหานคร” จำนวน 1,700 เล่ม 4. แผ่นพับ“ประกอบอาชีพ(เย็บผ้า)อย่างมีความสุขปลอดโรคปลอดภัย มีสุขภาพอนามัยในการทำงานที่ดี”จำนวน 10,000 แผ่น ซึ่งได้ดำเนินการจัดส่งสื่อความรู้ด้านอาชีวอนามัย เพื่อส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจด้านอาชีวอนามัยให้แก่สถานประกอบการกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ไปยังสำนักงานเขตทั้ง 50 เขต เรียบร้อยแล้ว
๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :70.00 ผลงาน :81.60 |
1.ดำเนินการจ้างจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์รณรงค์การใช้ห้องน้ำสาธารณะที่ถูกวิธี 2.จัดประชุมการพัฒนาสุขลักษณะห้องน้ำสาธารณะในกรุงเทพมหานคร ประจำปี 2563 เพื่อหารือเกี่ยวกับการพัฒนาสุขลักษณะห้องน้ำสาธารณะในกรุงเทพมหานคร การปรับปรุงเกณฑ์การตรวจประเมินสุขลักษณะห้องน้ำสาธารณะของกรุงเทพมหานคร เกณฑ์การสรรหาสุดยอดห้องน้ำแห่งปีของกรุงเทพมหานครและการประกวดสุดยอดห้องน้ำแห่งปีของกรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม 2562 ระหว่างเวลา 09.00 – 16.00 น. ณ ห้องประชุม 1 ชั้น 23 อาคารธานีนพรัตน์ กรุงเทพมหานคร (ดินแดง)
1. จัดส่งสื่อประชาสัมพันธ์รณรงค์การใช้ห้องน้ำสาธารณะที่ถูกวิธีให้สำนักเขตทั้ง 50 เขต ๆ ละ 500 แผ่น เพื่อแจกจ่ายแก่สถานที่กลุ่มเป้าหมาย 12 กลุ่มเป้าหมาย 2. จัดส่งสื่อประชาสัมพันธ์รณรงค์การใช้ห้องน้ำสาธารณะที่ถูกวิธีให้แก่หน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานคร เช่น สำนักงานเลขานุการปลัดกรุงเทพมหานคร สำนักการโยธา สำนักการแพทย์ สำนักการศึกษา สำนักเทศกิจ สำนักวัฒนธรรม กีฬาและการท่องเที่ยว และสำนักอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งสิ้นจำนวน 2,250 แผ่น 3. ปรับปรุงแบบตรวจประเมินสุขลักษณะห้องน้ำสาธารณะ ตามเกณฑ์มาตรฐานห้องน้ำสาธารณะของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้เจ้าหน้าที่ทำงานได้สะดวกมากยิ่งขึ้น 4. ส่งคืนงบประมาณกิจกรรมที่ ๕ ส่งเสริมและพัฒนาสุขลักษณะห้องน้ำสาธารณะในกรุงเทพมหานคร ตามโครงการ กรุงเทพฯ เมืองแห่งสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาด ปลอดภัย ประจำปีงบประมาณ 2563เนื่องจากสำนักอนามัย ขอความร่วมมือทุกส่วนราชการงดจัดกิจกรรมตามประกาศกรุงเทพมหานคร วันที่ 23 มีนาคม 2563 เรื่อง การควบคุมการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19))
1. จัดส่งสื่อประชาสัมพันธ์รณรงค์การใช้ห้องน้ำสาธารณะที่ถูกวิธีให้สำนักเขตทั้ง 50 เขต ๆ ละ 500 แผ่น เพื่อแจกจ่ายแก่สถานที่กลุ่มเป้าหมาย 12 กลุ่มเป้าหมาย 2. จัดส่งสื่อประชาสัมพันธ์รณรงค์การใช้ห้องน้ำสาธารณะที่ถูกวิธีให้แก่หน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานคร เช่น สำนักงานเลขานุการปลัดกรุงเทพมหานคร สำนักการโยธา สำนักการแพทย์ สำนักการศึกษา สำนักเทศกิจ สำนักวัฒนธรรม กีฬาและการท่องเที่ยว และสำนักอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งสิ้นจำนวน 2,250 แผ่น 3. ปรับปรุงแบบตรวจประเมินสุขลักษณะห้องน้ำสาธารณะ ตามเกณฑ์มาตรฐานห้องน้ำสาธารณะของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้เจ้าหน้าที่ทำงานได้สะดวกมากยิ่งขึ้น 4. ส่งคืนงบประมาณกิจกรรมที่ ๕ ส่งเสริมและพัฒนาสุขลักษณะห้องน้ำสาธารณะในกรุงเทพมหานคร ตามโครงการ กรุงเทพฯ เมืองแห่งสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาด ปลอดภัย ประจำปีงบประมาณ 2563เนื่องจากสำนักอนามัย ขอความร่วมมือทุกส่วนราชการงดจัดกิจกรรมตามประกาศกรุงเทพมหานคร วันที่ 23 มีนาคม 2563 เรื่อง การควบคุมการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19))
ผลการตรวจประเมินสุขลักษณะห้องน้ำสาธารณะของกรุงเทพมหานคร ประจำปีงบประมาณ 2563 ตามเกณฑ์มาตรฐานห้องน้ำปรากฎว่า สำรวจจำนวนห้องน้ำทั้งหมดในกรุงเทพมหานคร ได้ทั้งสิ้นจำนวน 4702 แห่ง ตรวจประเมินได้ทั้งสิ้นจำนวน 3973 แห่ง พบผ่านเกณฑ์ 3837 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 81.60 เมื่อคำนวนจากห้องน้ำที่สำรวจได้ทั้งหมด
๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร | |
![]() |
หน่วยนับ :ราย เป้าหมาย :255,000.00 ผลงาน :117,452.00 |
อยู่ระหว่างการแจ้งแผนและแนวทางการดำเนินงานให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ
ผลการดำเนินงาน เดือนตุลาคม 2562-เดือนกุมภาพันธ์ 2563 พบว่า ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 91,869 คน คิดเป็นร้อยละ 36.03 ของเป้าหมาย
ผลการดำเนินงาน เดือนตุลาคม 2562-เดือนพฤษภาคม 2563 พบว่า ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 96,833 คน คิดเป็นร้อยละ 37.97 ของเป้าหมายเดิมก่อนปรับลด
ผลการดำเนินงาน เดือนตุลาคม 2562-เดือนกันยายน 2563 พบว่า ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 117,452 คน คิดเป็นร้อยละ 117.45 ของเป้าหมาย
๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร | |
![]() |
หน่วยนับ :ไม่น้อยกว่าร้อยละ เป้าหมาย :80.00 ผลงาน :100.00 |
เตรียมการจัดประชุมเพื่อหาแนวทางร่วมกันระหว่างภาครัฐและผู้ประกอบการผลิต สะสม แบ่งบรรจุ หรือขนส่งน้ำแข็ง ในการจัดการให้น้ำแข็งมีความสะอาดและปลอดภัยต่อผู้บริโภค
จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์จัดประชุมและจัดประชุมเพื่อหาแนวทางระหว่างภาครัฐและผู้ประกอบการผลิตน้ำแข็ง ในการจัดการให้น้ำแข็งมีความสะอาดและมีความปลอดภัยต่อผู้บริโภค ตรวจสอบสุขลักษณะสถานที่ผลิตน้ำแข็งให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ GMP ไป 53 แห่ง จาก 71 แห่ง ผ่านเกณฑ์ 50 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 70.42 ในรายที่ไม่ผ่านเกณฑ์จะให้สำนักงานเขตพื้นที่ได้ตรวจติดตามต่อไป
ตรวจสอบสุขลักษณะสถานที่ผลิตน้ำแข็งให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ GMP ไปทั้งหมด 71 แห่ง หยุดประกอบการชั่วคราว 4 ราย เลิก 1 ราย คงเหลือ 66 ราย ผ่านเกณฑ์ 66 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 พร้อมทั้งสรุปรายงานการตรวจสอบสุขลักษณะสถานที่ผลิตน้ำแข็งเสนอผู้บริหาร และจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านสุขอนามัยที่ดีในสถานประกอบการให้แก่ผู้ประกอบการ
ตรวจสอบสุขลักษณะสถานที่ผลิตน้ำแข็งให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ GMP ไปทั้งหมด 71 แห่ง หยุดประกอบการชั่วคราว 4 ราย เลิก 1 ราย คงเหลือ 66 ราย ผ่านเกณฑ์ 66 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 พร้อมทั้งสรุปรายงานการตรวจสอบสุขลักษณะสถานที่ผลิตน้ำแข็งเสนอผู้บริหาร และจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านสุขอนามัยที่ดีในสถานประกอบการให้แก่ผู้ประกอบการ
๑.๖.๒ โรคติดต่อที่สำคัญในเมืองได้รับการเฝ้าระวังและควบคุมไม่ให้ระบาดไปในวงกว้าง | |
![]() |
หน่วยนับ :>ร้อยละ เป้าหมาย :90.00 ผลงาน :100.00 |
จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่เข้าเกณฑ์การรักษาทั้งหมด ของศูนย์บริการสาธารณสุขนำร่อง 8 แห่ง จำนวน 115 คน จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่เข้าเกณฑ์การรักษาได้รับยาต้านไวรัส ในศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน 115 คน คิดเป็นร้อยละ 100
จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่เข้าเกณฑ์การรักษาทั้งหมด ของศูนย์บริการสาธารณสุขนำร่อง 8 แห่ง จำนวน 252 คน จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่เข้าเกณฑ์การรักษาได้รับยาต้านไวรัส ในศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน 252 คน คิดเป็นร้อยละ 100
จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่เข้าเกณฑ์การรักษาทั้งหมด ของศูนย์บริการสาธารณสุขนำร่อง 8 แห่ง จำนวน 331 คน จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่เข้าเกณฑ์การรักษาได้รับยาต้านไวรัส ในศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน 331 คน คิดเป็นร้อยละ 100
จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่เข้าเกณฑ์การรักษาทั้งหมด ของศูนย์บริการสาธารณสุขนำร่อง 8 แห่ง จำนวน 394 คน จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่เข้าเกณฑ์การรักษาได้รับยาต้านไวรัส ในศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน 394 คน คิดเป็นร้อยละ 100
๑.๖.๒ โรคติดต่อที่สำคัญในเมืองได้รับการเฝ้าระวังและควบคุมไม่ให้ระบาดไปในวงกว้าง | |
![]() |
หน่วยนับ :≥ร้อยละ เป้าหมาย :89.00 ผลงาน :90.53 |
ผลสำเร็จของการรักษาผู้ป่วยวัณโรคทุกประเภทรอบ 1/2562 จำนวนผู้ป่วยที่นำมาประเมิน 188 คน มีผลการรักษาสำเร็จ 154 คน คิดเป็นร้อยละ 81.91
ผลสำเร็จของการรักษาผู้ป่วยวัณโรคทุกประเภทรอบ 1-2/2562 จำนวนผู้ป่วยที่นำมาประเมิน 367 คน มีผลการรักษาสำเร็จ 310 คน คิดเป็นร้อยละ 84.47
ผลสำเร็จของการรักษาผู้ป่วยวัณโรคทุกประเภทรอบ 1-3/2562 จำนวนผู้ป่วยที่นำมาประเมิน 559 คน มีผลการรักษาสำเร็จ 509 คน คิดเป็นร้อยละ 91.06
ผลสำเร็จของการรักษาผู้ป่วยวัณโรคทุกประเภท ปี 2562 จำนวนผู้ป่วยที่นำมาประเมิน 760 คน มีผลการรักษาสำเร็จ 688 คน คิดเป็นร้อยละ 90.53
๑.๖.๒ โรคติดต่อที่สำคัญในเมืองได้รับการเฝ้าระวังและควบคุมไม่ให้ระบาดไปในวงกว้าง | |
![]() |
หน่วยนับ :ไม่เกินค่าเปอร์เซ็นไทล์ที่ 80 ของ 5 ปีย้อนหลัง เป้าหมาย :80.00 ผลงาน :46.63 |
ผู้ป่วย คูณ ประชากร 100,000 คน หาร จำนวนประชากรปี 2562 311 x 100,000 / 5,666,264 = 5.49 *จำนวนผู้ป่วย มาจากรายงาน รง.506 ในระบบ EPINET ซึ่งเป็นอัตราป่วยสะสมโรคไข้เลือดออกในกรุงเทพมหานคร ของสถานการณ์ไข้เลือดออกกรุงเทพมหานคร
ผู้ป่วย คูณ ประชากร 100,000 คน หาร จำนวนประชากรปี 2562 1,035 x 100,000 / 5,666,264 = 18.27 *จำนวนผู้ป่วย มาจากรายงาน รง.506 ในระบบ EPINET ซึ่งเป็นอัตราป่วยสะสมโรคไข้เลือดออกในกรุงเทพมหานคร ของสถานการณ์ไข้เลือดออกกรุงเทพมหานคร
ผู้ป่วย x ประชากร / จำนวนประชากรปี 2562 1,515 x 100,000/5,666,264 = 26.74 *จำนวนผู้ป่วย มาจากรายงาน รง.506 ในระบบ EPINET ซึ่งเป็นอัตราป่วยสะสมโรคไข้เลือดออกในกรุงเทพมหานคร ของสถานการณ์ไข้เลือดออกกรุงเทพมหานคร
ผู้ป่วย x ประชากร / จำนวนประชากรปี 2562 2,642 x 100,000/5,666,264 = 46.63 *จำนวนผู้ป่วย มาจากรายงาน รง.506 ในระบบ EPINET ซึ่งเป็นอัตราป่วยสะสมโรคไข้เลือดออกในกรุงเทพมหานคร ของสถานการณ์ไข้เลือดออกกรุงเทพมหานคร *ค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง คือ 158.66
๑.๖.๒ โรคติดต่อที่สำคัญในเมืองได้รับการเฝ้าระวังและควบคุมไม่ให้ระบาดไปในวงกว้าง | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :70.00 ผลงาน :83.60 |
อยู่ในชั้นตอนขออนุมัติกิจกรรมไข้หวัดใหญ่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนและศึกษาทบทวนผลการดำเนินงานของปีที่ผ่านมา
ทำบันทึกส่งเอกสารเพิ่มเติมเสนอสำนักงานเลขาสำนักอนามัยเพื่อทำบันทึกส่งเอกสารเพิ่มเติมตามที่สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลแนะนำเพื่ออนุมัติใช้เงินงบกลาง
- ศูนย์บริการสาธารณสุขลงทะเบียนให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่มีความประสงค์จะรับบริการฉีดวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่เป็นรายบุคคลผ่านโปรแกรมสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค(BPPDS) - กองควบคุมโรคติดต่อจัดสรรวัคซีนให้กับศูนย์บริการสาธารณสุข
ตัวชี้วัดคือร้อยละของการให้บริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ในกลุ่มเป้าหมาย ค่าเป้าหมาย ร้อยละ 70 ผลการดำเนินงาน ร้อยละ 83.6 ของกลุ่มเป้าหมายได้รับการบริการฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ วิธีคำนวณ จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการฉีดวัคซีน * 100/จำนวนวัคซีนที่ได้รับการสนับสนุน 77,800 คน *100/93,020 คน = 83.6
๑.๖.๒ โรคติดต่อที่สำคัญในเมืองได้รับการเฝ้าระวังและควบคุมไม่ให้ระบาดไปในวงกว้าง | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :80.00 ผลงาน :85.50 |
ได้รับการลงนามเห็นชอบในหลักการโครงการสถานศึกษาปลอดโรคติดต่อเมื่อวันที่ 6 ธันวาคม 2562 ขณะนี้อยู่ในขั้นตอนขออนุมัติโครงการและขอนุมัติงบประมาณ
-ชะลอการจัดประชุมเนื่องจากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สำนักอนามัยจึงมีหนังสือด่วนที่สุดที่ กท0708/1617 ลว. 21 กุมภาพันธ์ 2563 เรื่อง เลื่อนการอบรมโครงการสถานศึกษาปลอดโรคติดต่อ และตามหนังสือ ที่กท.02000/ป.69/2563 ลงวันที่ 10 มีนาคม 2563 ข้อสั่งการเรื่องที่ 10 ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเห็นชอบให้ทุกหน่วยงานเลื่อนการฝึกอบรม สัมมนา ศึกษา ดูงานในประเทศและต่างประเทศจนกว่าสถานการณ์ไวรัสโคโรนา 2019 จะปลอดภัย
-ชะลอการจัดประชุมเนื่องจากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สำนักอนามัยจึงมีหนังสือด่วนที่สุดที่ กท0708/1617 ลว. 21 กุมภาพันธ์ 2563 เรื่อง เลื่อนการอบรมโครงการสถานศึกษาปลอดโรคติดต่อ และตามหนังสือ ที่กท.02000/ป.69/2563 ลงวันที่ 10 มีนาคม 2563 ข้อสั่งการเรื่องที่ 10 ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเห็นชอบให้ทุกหน่วยงานเลื่อนการฝึกอบรม สัมมนา ศึกษา ดูงานในประเทศและต่างประเทศจนกว่าสถานการณ์ไวรัสโคโรนา 2019 จะปลอดภัย
ร้อยละ 85.5 ของผู้เข้าร่วมกิจกรรมเสริมสร้างความรู้เรื่องโรคติดต่อที่สำคัญตามฤดูกาล วิธีการคำนวณ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้เรื่องโรคติดต่อที่สำคัญตามฤดูกาลตามเกณฑ์ที่กำหนด × 100 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด กลุ่มเป้าหมายที่มาจริง จำนวน 59 คน × 100 / กลุ่มเป้าหมายทั้งหมด จำนวน 69 คน = 85.5
๑.๖.๒ โรคติดต่อที่สำคัญในเมืองได้รับการเฝ้าระวังและควบคุมไม่ให้ระบาดไปในวงกว้าง | |
![]() |
หน่วยนับ :≥ร้อยละ เป้าหมาย :85.00 ผลงาน :100.92 |
(4.1) จำนวนชายมีเพศสัมพันธ์กับชายที่ตั้งเป้าหมายให้เข้าถึงข้อมูลความรู้และอุปกรณ์ป้องกัน ปี 2563 จำนวน 43,000 คน จำนวนชายมีเพศสัมพันธ์กับชายที่เข้าถึงข้อมูลความรู้และอุปกรณ์ป้องกัน จำนวน 4,099 คน คิดเป็นร้อยละ 9.53 (4.2) จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่มีชีวิตอยู่จากการคาดประมาณ ปี 2563 จำนวน 77,000 คน จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ยังมีชีวิตอยู่ในระบบการดูแลรักษา 3,448 คน คิดเป็นร้อยละ 4.48 (4.3) จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ยังมีชีวิตอยู่ในระบบการดูแลรักษา 3,448 คน จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ยังมีชีวิตอยู่และได้รับยาต้านไวรัส 1,700 คน คิดเป็นร้อยละ 49.30
(4.1) จำนวนชายมีเพศสัมพันธ์กับชายที่ตั้งเป้าหมายให้เข้าถึงข้อมูลความรู้และอุปกรณ์ป้องกัน ปี 2563 จำนวน 43,000 คน จำนวนชายมีเพศสัมพันธ์กับชายที่เข้าถึงข้อมูลความรู้และอุปกรณ์ป้องกัน จำนวน 21,701 คน คิดเป็นร้อยละ 50.47 (4.2) จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่มีชีวิตอยู่จากการคาดประมาณปี 2563 จำนวน 77,000 คน จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ยังมีชีวิตอยู่ในระบบการดูแลรักษา 57,653 คน คิดเป็นร้อยละ 74.87 (4.3) จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ยังมีชีวิตอยู่ในระบบการดูแลรักษา 57,653 คน จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ยังมีชีวิตอยู่และได้รับยาต้านไวรัส 41,296 คน คิดเป็นร้อยละ 71.63
(4.1) จำนวนชายมีเพศสัมพันธ์กับชายที่ตั้งเป้าหมายให้เข้าถึงข้อมูลความรู้และอุปกรณ์ป้องกัน ปี 2563 จำนวน 43,000 คน จำนวนชายมีเพศสัมพันธ์กับชายที่เข้าถึงข้อมูลความรู้และอุปกรณ์ป้องกัน จำนวน 30,173 คน คิดเป็นร้อยละ 70.17 (4.2) จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่มีชีวิตอยู่จากการคาดประมาณปี 2563 จำนวน 77,000 คน จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ยังมีชีวิตอยู่ในระบบการดูแลรักษา 76,308 คน คิดเป็นร้อยละ 99.10 (4.3) จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ยังมีชีวิตอยู่ในระบบการดูแลรักษา (ตามนิยามที่ปรับ) 33,262 คน จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ยังมีชีวิตอยู่และได้รับยาต้านไวรัส 28,873 คน คิดเป็นร้อยละ 86.80
(4.1) จำนวนชายมีเพศสัมพันธ์กับชายที่ตั้งเป้าหมายให้เข้าถึงข้อมูลความรู้และอุปกรณ์ป้องกัน ปี 2563 จำนวน 43,000 คน จำนวนชายมีเพศสัมพันธ์กับชายที่เข้าถึงข้อมูลความรู้และอุปกรณ์ป้องกัน จำนวน 43,396 คน คิดเป็นร้อยละ 100.92 (4.2) จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่มีชีวิตอยู่จากการคาดประมาณปี 2563 จำนวน 77,000 คน จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ยังมีชีวิตอยู่ในระบบการดูแลรักษา 92,232 คน คิดเป็นร้อยละ 119.78 (4.3) จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ยังมีชีวิตอยู่ในระบบการดูแลรักษา (ตามนิยามที่ปรับ) 74,420 คน จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ยังมีชีวิตอยู่และได้รับยาต้านไวรัส 62,085 คน คิดเป็นร้อยละ 83.43
๑.๖.๒ โรคติดต่อที่สำคัญในเมืองได้รับการเฝ้าระวังและควบคุมไม่ให้ระบาดไปในวงกว้าง | |
![]() |
หน่วยนับ :>ร้อยละ เป้าหมาย :70.00 ผลงาน :63.15 |
1.กำหนดแผนการลงสำรวจดัชนีลูกน้ำยุงลายในชุมชน หมู่บ้านจัดสรร สถานพยาบาล สถานศึกษา 2.ประชุมเตรียมความพร้อมการดำเนินการแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกในพื้นที่กรุงเทพมหานคร กับสำนักงานเขต 50 เขต ศบส.68 แห่ง ในวันที่ 19 พฤศจิกายน 2562 ชุมชน 20 x 100 / 364 = 5.49 หมู่บ้านจัดสรร 2 x 100 / 395 = 0.50 สถานศึกษา 3 x 100 / 322 = 0.93 สถานพยาบาล 1 x 100/287 = 0.34
กำหนดแผนการลงสำรวจดัชนีลูกน้ำยุงลายในชุมชน หมู่บ้านจัดสรร สถานพยาบาล สถานศึกษา -ชุมชน 39 x 100 / 364 = 10.71 -หมู่บ้านจัดสรร 36 x 100 / 395 = 9.11 -สถานศึกษา 48 x 100 / 322 = 14.90 -สถานพยาบาล 32 x 100/287 = 11.14
-ชุมชน 81*100/364 = 22.25 -หมู่บ้านจัดสรร 59*100/395 = 14.94 -สถานศึกษา 73*100/322 = 22.67 -สถานพยาบาล 48*100/287 = 16.72
ดัชนีชี้วัดลูกน้ำยุงลายของกลุ่มเป้าหมายอยู่ในเกณฑ์ที่กำหนด -ชุมชน 485*100/768 = 63.15 -หมู่บ้านจัดสรร 78*100/395 = 19.74 -สถานศึกษา 555*100/650 = 85.38 -สถานพยาบาล 60*100/287 = 20.91
๑.๖.๒ โรคติดต่อที่สำคัญในเมืองได้รับการเฝ้าระวังและควบคุมไม่ให้ระบาดไปในวงกว้าง | |
![]() |
หน่วยนับ :0.0 ต่อแสนประชากร เป้าหมาย :0.00 ผลงาน :0.00 |
6.1 จำนวนสุนัขและสัตว์เลี้ยงที่ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า (ผลผลิต) ผลการดำเนินการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ให้กับสุนัขและสัตวเลี้ยงของประชาชน ในเขตกรุงเทพมหานคร ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 จำนวน 11,473 ตัว แบ่งเเป็นสุนัข จำนวน 5,698 ตัว แมว จำนวน 5,774 ตัว และสัตว์อื่น ๆ จำนวน 1 ตัว 6.2 ตรวจพบเชื้อโรคพิษสุนัขบ้าในตัวอย่างซากสุนัขและแมวที่ส่งตรวจลดลง 10% ของค่า Median 5 ปีย้อนหลัง(ผลลัพธ์) ผลการส่งตัวอย่างซากสุนัขและแมวตรวจทางห้องปฏิบัติการตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 ยังไม่พบเชื้อโรคพิษสุนัขบ้า 6.3 อัตราป่วยตายด้วยโรคพิษสุนัขบ้า (ผลลัพธ์) ผลการดำเนินงานตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 ยังไม่พบประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครป่วยตายด้วยโรคพิษสุนัขบ้า...//
6.1 จำนวนสุนัขและสัตว์เลี้ยงที่ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า(ผลผลิต) ผลการดำเนินการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าให้กับสุนัขและสัตวเลี้ยงของประชาชน ในเขตกรุงเทพมหานคร ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 จำนวน 81,657 ตัว แบ่งเเป็นสุนัข จำนวน 40,157 ตัว แมว จำนวน 41,242 ตัว และสัตว์อื่น ๆ จำนวน 258 ตัว 6.2 ตรวจพบเชื้อโรคพิษสุนัขบ้าในตัวอย่างซากสุนัขและแมวที่ส่งตรวจลดลง 10% ของค่า Median 5 ปีย้อนหลัง(ผลลัพธ์) (ค่า Median 5 ปีย้อนหลัง 5 ปี = 32 case ดังนั้นการตรวจพบลดลง 10% = 3.2 case ฉะนั้นตามตัวชี้วัด ปีงบฯ 63 จึงตรวจพบได้ไม่เกิน 32-3.2 = 28.8 case ปัดเศษขึ้น) ผลการส่งตัวอย่างซากสุนัขและแมวตรวจทางห้องปฏิบัติการตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 ยังไม่พบเชื้อโรคพิษสุนัขบ้า 6.3 อัตราป่วยตายด้วยโรคพิษสุนัขบ้า (ผลลัพธ์) ผลการดำเนินงานตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 ยังไม่พบประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครป่วยตายด้วยโรคพิษสุนัขบ้า...//
6.1 จำนวนสุนัขและสัตว์เลี้ยงที่ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า(ผลผลิต) ผลการดำเนินการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าให้กับสุนัขและสัตวเลี้ยงของประชาชน ในเขตกรุงเทพมหานคร ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 จำนวน 100,172 ตัว แบ่งเเป็นสุนัข จำนวน 48,684 ตัว แมว จำนวน 51,162 ตัว และสัตว์อื่น ๆ จำนวน 326 ตัว 6.2 ตรวจพบเชื้อโรคพิษสุนัขบ้าในตัวอย่างซากสุนัขและแมวที่ส่งตรวจลดลง 10% ของค่า Median 5 ปีย้อนหลัง(ผลลัพธ์) (ค่า Median 5 ปีย้อนหลัง 5 ปี = 32 case ดังนั้นการตรวจพบลดลง 10% = 3.2 case ฉะนั้นตามตัวชี้วัด ปีงบฯ 63 จึงตรวจพบได้ไม่เกิน 32-3.2 = 28.8 case ปัดเศษขึ้น) ผลการส่งตัวอย่างซากสุนัขและแมวตรวจทางห้องปฏิบัติการตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 ยังไม่พบเชื้อโรคพิษสุนัขบ้า 6.3 อัตราป่วยตายด้วยโรคพิษสุนัขบ้า (ผลลัพธ์) ผลการดำเนินงานตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 ยังไม่พบประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครป่วยตายด้วยโรคพิษสุนัขบ้า...//
6.1 จำนวนสุนัขและสัตว์เลี้ยงที่ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า(ผลผลิต) ผลการดำเนินการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าให้กับสุนัขและสัตวเลี้ยงของประชาชน ในเขตกรุงเทพมหานคร ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 จำนวน 111,955 ตัว แบ่งเเป็นสุนัข จำนวน 52,761 ตัว แมว จำนวน 58,856 ตัว และสัตว์อื่น ๆ จำนวน 338 ตัว 6.2 ตรวจพบเชื้อโรคพิษสุนัขบ้าในตัวอย่างซากสุนัขและแมวที่ส่งตรวจลดลง 10% ของค่า Median 5 ปีย้อนหลัง(ผลลัพธ์) (ค่า Median 5 ปีย้อนหลัง 5 ปี = 32 case ดังนั้นการตรวจพบลดลง 10% = 3.2 case ฉะนั้นตามตัวชี้วัด ปีงบฯ 63 จึงตรวจพบได้ไม่เกิน 32-3.2 = 28.8 case ปัดเศษขึ้น) ผลการส่งตัวอย่างซากสุนัขและแมวตรวจทางห้องปฏิบัติการตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 ยังไม่พบเชื้อโรคพิษสุนัขบ้า 6.3 อัตราป่วยตายด้วยโรคพิษสุนัขบ้า (ผลลัพธ์) ผลการดำเนินงานตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 ยังไม่พบประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครป่วยตายด้วยโรคพิษสุนัขบ้า...//
๑.๖.๓ คนกรุงเทพฯทุกคนมีโอกาสได้รับบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขที่เท่าเทียม มีคุณภาพ แ | |
![]() |
หน่วยนับ :ศูนย์บริการสาธารณสุข เป้าหมาย :5.00 ผลงาน :3.00 |
อยู่ระหว่างการลงนามสัญญาการจ้างที่ปรึกษา และอยู่ระหว่างขั้นตอนการประสานงานศูนย์บริการสาธารณสุข เพื่อเข้าสู่กระบวนการพัฒนาคุณภาพศูนย์บริการสาธารณสุขให้ผ่านการรับรองจากองค์กรภายนอก
ศูนย์บริการสาธารณสุขที่ผ่านเกณฑ์การประเมินรับรองคุณภาพกับ สรพ. จำนวน 3 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 60 ของความสำเร็จ 1. ขออนุมัติโครงการ และแผนการใช้เงินงบประมาณ เรียบร้อยแล้ว 2. ดำเนินการจ้างที่ปรึกษา และขออนุมัติแต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณากำหนดขอบเขต เรียบร้อยแล้ว 3. จัดกิจกรรมการประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาคุณภาพศูนย์บริการสาธารณสุขตามมาตรฐานศูนย์บริการสาธารณสุข (PHCA) 4. ดำเนินกิจกรรมการประเมิน/รับรองคุณภาพศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย จำนวน 15 แห่ง ตาม TOR โดยศูนย์บริการสาธารณสุขสมัครเข้ารับการเยี่ยมสำรวจเพื่อประเมินและรับรองคุณภาพมาตรฐานศูนย์บริการสาธารณสุข (PHCA) 23 แห่ง 5. กำหนดการเยี่ยมศูนย์บริการสาธารณสุข ในเดือนมีนาคม เนื่องจากการแพร่ระบาดของโรค Covid-19 และตามข้อคำสั่งแนวทางปฏิบัติของกรุงเทพมหานครต้องชะลอการดำเนินการ
ศูนย์บริการสาธารณสุขที่ผ่านเกณฑ์การประเมินรับรองคุณภาพกับ สรพ. จำนวน 3 แห่ง ได้แก่ ศบส.7, 58 และ 66 ความสำเร็จของการดำเนินโครงการ คิดเป็นร้อยละ 95 โดยกิจกรรมที่ 1 จ้างที่ปรึกษา (TOR) ดำเนินการพัฒนาประเมินและรับรองคุณภาพศูนย์บริการสาธารณสุข ได้ดำเนินการการจ้างที่ปรึกษา (TOR) ในการประเมินและรับรองคุณภาพมาตรฐานศูนย์บริการสาธารณสุข (PHCA) โดยสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) เรียบร้อยแล้ว โดยในเดือนมิถุนายน ศบส.จำนวน 8 แห่ง ได้รับการเยี่ยม Accreditation กำหนดการเยี่ยม Re - accreditation และกำหนดการเยี่ยม Surveillance โดยสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) ได้แก่ ศบส. 62, 68, 58, 21, 66, 39, 7 และ 50 กิจกรรมที่ 2 การพัฒนาคุณภาพศูนย์บริการสาธารณสุขให้ผ่านการรับรองจากองค์กรภายนอก การประชุมพัฒนาคุณภาพศูนย์บริการสาธารณสุขให้ผ่านการรับรองจากองค์กรภายนอก โดยศูนย์บริการสาธารณสุขได้ดำเนินการจัดประชุมในเดือนกุมภาพันธ์และเดือนมีนาคม 2563 เรียบร้อยแล้ว ทั้งนี้ เนื่องจากสถานการณ์โรคระบาดโควิค19 การประชุมในเดือนเมษายนและพฤษภาคม 2563 จึงขออนุมัติยกเลิกกิจกรรมฯดังกล่าว ให้เป็นไปตามข้อคำสั่งแนวทางปฏิบัติของกรุงเทพมหานครต่อไป กิจกรรมที่ 3 การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาคุณภาพศูนย์บริการสาธารณสุขตามมาตรฐานศูนย์บริการสาธารณสุข (PHCA) ได้ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว ในเดือน มกราคม 2563
ศูนย์บริการสาธารณสุขที่ผ่านเกณฑ์การประเมินรับรองคุณภาพกับ สรพ. จำนวน 3 แห่ง ได้แก่ ศบส.7, 58 และ 66 ความสำเร็จของการดำเนินโครงการ คิดเป็นร้อยละ 100 โดยกิจกรรมที่ 1 จ้างที่ปรึกษา (TOR) ดำเนินการพัฒนาประเมินและรับรองคุณภาพศูนย์บริการสาธารณสุข ได้ดำเนินการการจ้างที่ปรึกษา (TOR) ในการประเมินและรับรองคุณภาพมาตรฐานศูนย์บริการสาธารณสุข (PHCA) โดยสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) เรียบร้อยแล้ว สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)อยู่ระหว่างดำเนินการตรวจเยี่ยมศูนย์บริการสาธารณสุข(Focus) ได้แก่ ศูนย์บริการสาธารณสุข 61, 68, 60, 40, 64 และ 21 โดยจะดำเนินการตรวจเยี่ยมแล้วเสร็จในวันที่ 18 กันยายน 2563 ตามแผนงานที่วางไว้ กิจกรรมที่ 2 การพัฒนาคุณภาพศูนย์บริการสาธารณสุขให้ผ่านการรับรองจากองค์กรภายนอก การประชุมพัฒนาคุณภาพศูนย์บริการสาธารณสุขให้ผ่านการรับรองจากองค์กรภายนอก โดยศูนย์บริการสาธารณสุขได้ดำเนินการจัดประชุมในเดือนกุมภาพันธ์และเดือนมีนาคม 2563 เรียบร้อยแล้ว ทั้งนี้ เนื่องจากสถานการณ์โรคระบาดโควิค19 การประชุมในเดือนเมษายนและพฤษภาคม 2563 ได้รับอนุมัติยกเลิกกิจกรรมฯ ดังกล่าวเรียบร้อยแล้ว ให้เป็นไปตามข้อคำสั่งแนวทางปฏิบัติของกรุงเทพมหานครต่อไป และกิจกรรมที่ 3 การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาคุณภาพศูนย์บริการสาธารณสุขตามมาตรฐานศูนย์บริการสาธารณสุข (PHCA) ได้ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว ทั้งนี้ การดำเนินโครงการเสร็จสิ้นแล้ว และบรรลุวัตถุประสงค์ตามที่กำหนด
๑.๖.๓ คนกรุงเทพฯทุกคนมีโอกาสได้รับบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขที่เท่าเทียม มีคุณภาพ แ | |
![]() |
หน่วยนับ :ได้เผยแพร่อย่างน้อย 20 เรื่อง เป้าหมาย :20.00 ผลงาน :37.00 |
1.ขออนุมัติโครงการ แผนการใช้จ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2563 2.จัดเตรียมเอกสารประกอบการขออนุมัติเงินประจำงวด 3.จัดประชุมคณะกรรมการอำนวยการฯ ครั้งที่ 1/2562 ในวันที่ 4 ธันวาคม 2562 4.จัดทำหนังสือเชิญร่วมเป็นคณะกรรมการตัดสินผลงานนวัตกรรม ปี 2563 (หน่วยงานภายใน ภายนอกกรุงเทพมหานคร และสถาบันการศึกษา)
1. กิจกรรมที่ 1 การประชุมเปิดโครงการดำเนินการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เสร็จสิ้นไปเมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมเจ้าพระยาปาร์ค ถนนรัชดาภิเษก กรุงเทพมหานคร 2. กิจกรรมที่ 2 การประกวดและตัดสินผลงานนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข - จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการตัดสินผลงานนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข สำนักอนามัยมัย ปี 2563 - อยู่ระหว่างรวบรวมผลงานนวัตกรรมฯ ที่ส่งเข้าประกวด และจัดเตรียมเนื้อหาผลงานนวัตกรรมฯ เพื่อเตรียมนำเสนอคณะกรรมการตัดสินผลงานฯ 3. กิจกรรมที่ 3 การจัดแสดงผลงานนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข สำนักอนามัย - อยู่ระหว่างรวบรวมเนื้อหาผลงานนวัตกรรมจากส่วนราชการในสำนักอนามัยส่งเข้ามาจำนวน 37 เรื่อง เพื่อทำการเผยแพร่ผ่าน เว็บไซค์ - อยู่ระหว่างจัดทำหนังสือขอเปลี่ยนแปลงรายละเอียดโครงการ เนื่องจากสถานการณ์ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (โควิท 19)
1. จัดเตรียมเนื้อหาผลงานนวัตกรรมฯ ที่ส่งเข้าประกวด และจัดทำเป็น QR-Code เพื่อส่งให้คณะกรรมการตัดสินผลงานฯ พิจารณาก่อนการประชุมคณะกรรมการฯ 2. จัดประชุมคณะกรรมการตัดสินผลงานนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข สำนักอนามัย ปี 2563 3. จัดทำเนื้อหาผลงานนวัตกรรมฯ เพื่อประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางอิเล็คทรอนิกส์
โครงการนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข สำนักอนามัย ปี 2563 แบ่งเป็น 3 กิจกรรม กิจกรรมที่ 1 การประชุมเปิดโครงการ โดยจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ กิจกรรมที่ 2 การประกวดและตัดสินผลงานนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข จัดประชุมคณะกรรมการตัดสินผลงาน นวัตกรรมฯ กิจกรรมที่ 3 การจัดแสดงผลงานนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข สำนักอนามัย ผลงานนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข สำนักอนามัย ได้รับการเผยแพร่จำนวน 37 ผลงาน
๑.๖.๓ คนกรุงเทพฯทุกคนมีโอกาสได้รับบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขที่เท่าเทียม มีคุณภาพ แ | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :92.34 |
-อยู่ระหว่างขั้นตอนการเชื่อมข้อมูลโดยสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เนื่องจากเป็นช่วงเปลี่ยนผ่านทำให้ระบบยังไม่เสถียร และอยู่ระหว่างการตรวจสอบข้อมูลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ได้รับการส่งต่อจากสถานพยาบาล -จำนวนผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ได้รับการส่งต่อจาก BMA Home Ward Referral Center มีจำนวน 3,952 ราย ได้รับการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้าน จำนวน 3,303 ราย คิดเป็นร้อยละ 83.57
-อยู่ระหว่างขั้นตอนเชื่อมโยงข้อมูลโดยสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติร่วมกับ Nectec -กิจกรรมที่ 1 จัดกิจกรรมการพัฒนาและขยายเครือข่ายระบบส่งต่อผู้ป่วยและผู้สูงอายุต่อเนื่องที่บ้าน (BMA Home Ward Referral System) ในการพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) ระหว่างศูนย์บริการสาธารณสุขและโรงพยาบาลภาคีเครือข่าย เพื่อนำเสนอผลการดำเนินงานระบบสารสนเทศการส่งต่อฯ เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2563 มีกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรมทั้งสิ้น 230 คน จากกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 230 คน คิดเป็นร้อยละ 100 -มีผู้ป่วยและผู้สูงอายุได้รับการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้านตามเกณฑ์ จำนวน 9,439 ราย จากจำนวนผู้ป่วยและผู้สูงอายุทั้งหมด 10,912 ราย คิดเป็นร้อยละ 86.50
-อยู่ระหว่างขั้นตอนเชื่อมโยงข้อมูลและตรวจสอบโดยสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติร่วมกับ Nectec -กิจกรรมที่ 2 และกิจกรรมที่ 3 ยกเลิกการจัดกิจกรรมเนื่องจากสถานการณ์การระบาดของไวรัส COVID-19 -มีผู้ป่วยและผู้สูงอายุได้รับการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้านตามเกณฑ์ จำนวน 19,416 ราย จากจำนวนผู้ป่วยและผู้สูงอายุทั้งหมด 20,892 ราย คิดเป็นร้อยละ 92.93
-ยกเลิกการจัดกิจกรรมที่ 2 การฝึกอบรมเพื่อการพัฒนาความรู้และทักษะการใช้โปรแกรมการส่งต่อผู้ป่วยและผู้สูงอายุต่อเนื่องที่บ้าน (BMA Home Ward Referral Program) เนื่องจากสถานการณ์การระบาดของโควิด-19 แต่ทางกองการพยาบาลสาธารณสุขยังมีการพัฒนาโปรแกรม BMA Home Ward เพื่อใช้ประเมินผู้ป่วยและวางแผนการพยาบาลตามมาตรฐานการดูแล 12 Care -ส่วนการเชื่อมโยงข้อมูลจากสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติร่วมกับ Nectec มายังโปรแกรม BMA Home Ward ขณะนี้ยังอยู่ระหว่างการถ่ายโอนข้อมูล -จำนวนผู้ป่วยและผู้สูงอายุได้รับการส่งต่อจาก BMA Home Ward Referral Center มีจำนวน 31,350 ราย ได้รับการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้านตามเกณฑ์ 28,950 ราย คิดเป็นร้อยละ 92.34
๑.๖.๓ คนกรุงเทพฯทุกคนมีโอกาสได้รับบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขที่เท่าเทียม มีคุณภาพ แ | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :85.00 ผลงาน :78.23 |
-อยู่ระหว่างขั้นตอนการเชื่อมข้อมูลโดยสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เนื่องจากเป็นช่วงเปลี่ยนผ่านทำให้ระบบยังไม่เสถียร และอยู่ระหว่างการตรวจสอบข้อมูลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ได้รับการส่งต่อจากสถานพยาบาล -อยู่ระหว่างการประสานงานสถานพยาบาลและศูนย์บริการสาธารณสุข เพื่อขอรายชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรมที่ 1 จัดกิจกรรมพัฒนาและขยายเครือข่ายระบบส่งต่อผู้ป่วยและผู้สูงอายุต่อเนื่องที่บ้าน (BMA Home Ward Referral System) ในการพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) ระหว่างศูนย์บริการสาธารณสุข และโรคพยาบาลภาคีเครือข่าย เพื่อนำเสนอผลการดำเนินงานระบบสารสนเทศการส่งต่อฯ -จำนวนศูนย์บริการสาธารณสุขและโรงพยาบาลในภาคีเครือข่ายสามารถเข้าถึงบริการและประสานงานผ่านศูนย์ส่งต่อเพื่อการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้าน จำนวน 151 แห่ง (ศูนย์บริการสาธารณสุข 68 แห่ง และโรงพยาบาลภาคีเครือข่าย 83 แห่ง) จากจำนวนศูนย์บริการสาธารณสุขและโรงพยาบาลในภาคีเครือข่ายทั้งหมด 193 แห่ง (ศูนย์บริการสาธารณสุข 68 แห่ง และโรงพยาบาลภาคีเครือข่าย 125 แห่ง) คิดเป็นร้อยละ 78.23
-อยู่ระหว่างขั้นตอนเชื่อมโยงข้อมูลโดยสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติร่วมกับ Nectec -กิจกรรมที่ 1 จัดกิจกรรมการพัฒนาและขยายเครือข่ายระบบส่งต่อผู้ป่วยและผู้สูงอายุต่อเนื่องที่บ้าน (BMA Home Ward Referral System) ในการพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) ระหว่างศูนย์บริการสาธารณสุขและโรงพยาบาลภาคีเครือข่าย เพื่อนำเสนอผลการดำเนินงานระบบสารสนเทศการส่งต่อฯ เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2563 มีกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรมทั้งสิ้น 230 คน จากกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 230 คน คิดเป็นร้อยละ 100 -จำนวนศูนย์บริการสาธารณสุขและโรงพยาบาลในภาคีเครือข่ายสามารถเข้าถึงบริการและประสานงานผ่านศูนย์ส่งต่อเพื่อการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้าน จำนวน 151 แห่ง (ศูนย์บริการสาธารณสุข 68 แห่ง และโรงพยาบาลภาคีเครือข่าย 83 แห่ง) จากจำนวนศูนย์บริการสาธารณสุขและโรงพยาบาลในภาคีเครือข่ายทั้งหมด 193 แห่ง (ศูนย์บริการสาธารณสุข 68 แห่ง และโรงพยาบาลภาคีเครือข่าย 125 แห่ง) คิดเป็นร้อยละ 78.23
-อยู่ระหว่างขั้นตอนเชื่อมโยงข้อมูลและตรวจสอบโดยสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติร่วมกับ Nectec -กิจกรรมที่ 2 และกิจกรรมที่ 3 ยกเลิกการจัดกิจกรรมเนื่องจากสถานการณ์การระบาดของไวรัส COVID-19 -จำนวนศูนย์บริการสาธารณสุขและโรงพยาบาลในภาคีเครือข่ายสามารถเข้าถึงบริการและประสานงานผ่านศูนย์ส่งต่อเพื่อการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้าน จำนวน 151 แห่ง (ศูนย์บริการสาธารณสุข 68 แห่ง และโรงพยาบาลภาคีเครือข่าย 83 แห่ง) จากจำนวนศูนย์บริการสาธารณสุขและโรงพยาบาลในภาคีเครือข่ายทั้งหมด 193 แห่ง (ศูนย์บริการสาธารณสุข 68 แห่ง และโรงพยาบาลภาคีเครือข่าย 125 แห่ง) คิดเป็นร้อยละ 78.23
-การเชื่อมโยงข้อมูลจากสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติร่วมกับ Nectec มายังโปรแกรม BMA Home Ward ขณะนี้ยังอยู่ระหว่างการถ่ายโอนข้อมูล -จำนวนศูนย์บริการสาธารณสุขและโรงพยาบาลในภาคีเครือข่ายสามารถเข้าถึงบริการและประสานงานผ่านศูนย์ส่งต่อเพื่อการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้าน จำนวน 151 แห่ง (ศูนย์บริการสาธารณสุข 68 แห่ง และโรงพยาบาลภาคีเครือข่าย 83 แห่ง) จากจำนวนศูนย์บริการสาธารณสุขและโรงพยาบาลในภาคีเครือข่ายทั้งหมด 193 แห่ง (ศูนย์บริการสาธารณสุข 68 แห่ง และโรงพยาบาลภาคีเครือข่าย 125 แห่ง) คิดเป็นร้อยละ 78.23
๑.๖.๕ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีอาหารปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :95.00 ผลงาน :97.54 |
อยู่ระหว่างดำเนินการจ้างเหมาฯห้องปฏิบัติการ ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขตทั้ง 50 เขต ดำเนินการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารพร้อมบริโภคในกลุ่มเป้าหมาย ดังนี้ แผงลอย ตลาด ร้านอาหาร ซูเปอร์มาร์เก็ต และมินิมาร์ท ส่งตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการเพื่อตรวจหาเชื้อโรคที่เป็นอันตรายในระบบทางเดินอาหาร 3 ชนิด ได้แก่ Salmonella spp. , Staphylococcus aureus และ Vibrio cholerae) โดยผลการตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหาร ระหว่างเดือนตุลาคม 2562 – เดือนธันวาคม 2562 ยังไม่มีการเก็บตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์ เนื่องจากอยู่ระหว่างการดำเนินการจ้างเหมาฯ ทางห้องปฏิบัติการ-//-
ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขตทั้ง 50 เขต ดำเนินการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารพร้อมบริโภคในกลุ่มเป้าหมาย ดังนี้ แผงลอย ตลาด ร้านอาหาร ซูเปอร์มาร์เก็ต และมินิมาร์ท ส่งตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการเพื่อตรวจหาเชื้อโรคที่เป็นอันตรายในระบบทางเดินอาหาร 3 ชนิด ได้แก่ Salmonella spp. , Staphylococcus aureus และ Vibrio cholerae โดยเริ่มดำเนินการสุ่มเก็บตัวอย่างตั้งแต่วันที่ 14 มกราคม2563 เป็นต้นมา โดยผลการตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหาร มีการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์ทั้งสิ้น จำนวน 953 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน จำนวน 938 ตัวอย่าง หรือคิดเป็นร้อยละ 98.43-//-
ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขตทั้ง 50 เขต ดำเนินการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารพร้อมบริโภคในกลุ่มเป้าหมาย ดังนี้ แผงลอย ตลาด ร้านอาหาร ซูเปอร์มาร์เก็ต และมินิมาร์ท ส่งตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการเพื่อตรวจหาเชื้อโรคที่เป็นอันตรายในระบบทางเดินอาหาร 3 ชนิด ได้แก่ Salmonella spp. , Staphylococcus aureus และ Vibrio cholerae โดยเริ่มดำเนินการสุ่มเก็บตัวอย่างตั้งแต่วันที่ 14 มกราคม 2563 เป็นต้นมา โดยผลการตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหาร มีการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์ทั้งสิ้น จำนวน 2,074 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน จำนวน 2,024 ตัวอย่าง หรือคิดเป็นร้อยละ 97.59-//-
ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขตทั้ง 50 เขต ดำเนินการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารพร้อมบริโภคในกลุ่มเป้าหมาย ดังนี้ แผงลอย ตลาด ร้านอาหาร ซูเปอร์มาร์เก็ต และมินิมาร์ท ส่งตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการเพื่อตรวจหาเชื้อโรคที่เป็นอันตรายในระบบทางเดินอาหาร 3 ชนิด ได้แก่ Salmonella spp. , Staphylococcus aureus และ Vibrio cholerae โดยเริ่มดำเนินการสุ่มเก็บตัวอย่างตั้งแต่วันที่ 14 มกราคม 2563 ถึงวันที่ 14 สิงหาคม 2563 โดยผลการตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหาร มีการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์ทั้งสิ้น จำนวน 2,801 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน จำนวน 2,732 ตัวอย่าง หรือคิดเป็นร้อยละ 97.54
๑.๖.๕ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีอาหารปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :100.00 |
ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขตทั้ง 50 เขต ดำเนินการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารในกลุ่มเป้าหมาย ดังนี้ แผงลอย ตลาด ร้านอาหาร ซูเปอร์มาร์เก็ต และมินิมาร์ท ตรวจวิเคราะห์โดยชุดทดสอบเบื้องต้น หาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร ได้แก่ ตรวจหา สารบอแรกซ์ สารฟอร์มาลิน สารฟอกขาว สารกันรา สีสังเคราะห์ กรดแร่อิสระในน้ำส้มสายชู ยาฆ่าแมลง และสารโพลาร์ในน้ำมันทอดอาหาร โดยผลการตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหาร ระหว่างเดือนตุลาคม 2562 – เดือนธันวาคม 2562 มีการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์ทั้งสิ้น จำนวน 6,326 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน จำนวน 6,326 ตัวอย่าง (ร้อยละ 100)-//-
ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขตทั้ง 50 เขต ดำเนินการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารในกลุ่มเป้าหมาย ดังนี้ แผงลอย ตลาด ร้านอาหาร ซูเปอร์มาร์เก็ต และมินิมาร์ท ตรวจวิเคราะห์โดยชุดทดสอบเบื้องต้นหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร ได้แก่ ตรวจหา สารบอแรกซ์ สารฟอร์มาลิน สารฟอกขาว สารกันรา สีสังเคราะห์ กรดแร่อิสระในน้ำส้มสายชู ยาฆ่าแมลง และสารโพลาร์ในน้ำมันทอดอาหาร โดยผลการตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหาร ระหว่างเดือนตุลาคม 2562 – เดือนมีนาคม 2563 มีการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์ทั้งสิ้น จำนวน 37,584 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน จำนวน 37,584 ตัวอย่าง (ร้อยละ 100)-//-
ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขตทั้ง 50 เขต ดำเนินการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารในกลุ่มเป้าหมาย ดังนี้ แผงลอย ตลาด ร้านอาหาร ซูเปอร์มาร์เก็ต และมินิมาร์ท ตรวจวิเคราะห์โดยชุดทดสอบเบื้องต้น หาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร ได้แก่ ตรวจหาสารบอแรกซ์ สารฟอร์มาลิน สารฟอกขาว สารกันรา ยาฆ่าแมลง สีสังเคราะห์ กรดแร่อิสระในน้ำส้มสายชู และสารโพลาร์ในน้ำมันทอดอาหาร โดยผลการตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหาร ระหว่างเดือนตุลาคม 2562 - เดือนมิถุนายน 2563 มีการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์ทั้งสิ้น จำนวน 53,984 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน จำนวน 53,984 ตัวอย่าง (ร้อยละ 100) -//-
ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขตทั้ง 50 เขต ดำเนินการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารในกลุ่มเป้าหมาย ดังนี้ แผงลอย ตลาด ร้านอาหาร ซูเปอร์มาร์เก็ต และมินิมาร์ท ตรวจวิเคราะห์โดยชุดทดสอบเบื้องต้นหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร ได้แก่ ตรวจหาสารบอแรกซ์ สารฟอร์มาลิน สารฟอกขาว สารกันรา ยาฆ่าแมลง สีสังเคราะห์ กรดแร่อิสระในน้ำส้มสายชู และสารโพลาร์ในน้ำมันทอดอาหาร โดยผลการตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหาร ระหว่างเดือนตุลาคม 2562 - เดือนกันยายน 2563 มีการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์ทั้งสิ้น จำนวน 83,435 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน จำนวน 83,435 ตัวอย่าง (ร้อยละ 100)-//-
๑.๖.๕ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีอาหารปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :70.00 ผลงาน :99.10 |
อยู่ระหว่างประสานงานกับสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา//
1. ประสานงานกับสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ในการดำเนินโครงการ และได้รับหนังสือขอความร่วมมือในการกำกับดูแลการเฝ้าระวังความปลอดภัยอาหาร เลขที่ สธ.1010.3/17398 ลงวันที่ 25 ธันวาคม 2562 2. ประสานงานกับสำนักงานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม เพื่อจัดทำโครงการ และแผนการปฏิบัติงาน 3. จัดทำโครงการและแผนการดำเนินงาน ซึ่งได้รับอนุมัติโครงการฯ และอนุมัติการจัดสรรเงินงบประมาณ ตามหนังสือสำนักคลัง ที่ กท 1308/508 ลงวันที่ 30 มกราคม 2563 4. ประสานงานกับฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขต เพื่อเก็บตัวอย่างส่งตรวจตามวันที่กำหนด ในแผนการเก็บตัวอย่าง 5. ดำเนินการตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท และน้ำแข็ง ตั้งแต่วันที่ 2 ถึง 20 มีนาคม 2563 โดยดำเนินการตรวจน้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิทจากสถานประกอบการจำนวน 18 แห่ง จากเป้าหมาย 165 แห่ง (คิดเป็นร้อยละ 10.9) ผ่านเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 18 แห่ง (คิดเป็นร้อยละ 100) และตรวจน้ำแข็งจากสถานประกอบการจำนวน 10 แห่ง จากเป้าหมาย 71 แห่ง (คิดเป็นร้อยละ 14.1) ผ่านเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 9 แห่ง (คิดเป็นร้อยละ 90.0) รวมตรวจสถานประกอบการน้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท และน้ำแข็ง ที่ได้รับการตรวจวิเคราะห์ทั้งหมด 28 แห่ง จากเป้าหมายรวม 236 แห่ง (คิดเป็นร้อยละ 11.9) และสถานประกอบการน้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท และน้ำแข็งที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จำนวนรวม 27 แห่ง (คิดเป็นร้อยละ 96.4) 6. ได้ร้อยละของสถานประกอบการที่ได้รับการตรวจคุณภาพน้ำ/น้ำแข็ง ได้ตามเป้าหมาย คือร้อยละ 11.9 (ผลผลิต) 7. ได้ร้อยละของสถานประกอบการที่ได้รับการตรวจคุณภาพน้ำ/น้ำแข็ง และผ่านเกณฑ์มาตรฐาน คือร้อยละ 96.4 (ผลลัพธ์)//
1. ประสานงานกับฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล เพื่อเก็บตัวอย่างส่งตรวจตามวันที่กำหนดในแผนการเก็บตัวอย่าง 2. ดำเนินการตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท และน้ำแข็ง ตั้งแต่วันที่ 2 มีนาคม 2563 ถึง 20 มิถุนายน 2563 โดยดำเนินการตรวจน้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิทจากสถานประกอบการ จำนวน 101 แห่ง จากเป้าหมาย 165 แห่ง (คิดเป็นร้อยละ 61.2) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 95 แห่ง (คิดเป็นร้อยละ 94.1) และตรวจน้ำแข็งจากสถานประกอบการจำนวน 53 แห่ง จากเป้าหมาย 71 แห่ง (คิดเป็นร้อยละ 74.6) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 41 แห่ง (คิดเป็นร้อยละ 77.4) 3. สรุปจำนวนสถานประกอบการผลิตน้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท และน้ำแข็งที่ได้รับการตรวจวิเคราะห์ คือ 154 แห่ง จากเป้าหมายรวม 236 แห่ง ได้ร้อยละของสถานประกอบการที่ได้รับการตรวจคุณภาพน้ำ/น้ำแข็งได้ตามเป้าหมาย คือร้อยละ 65.3 (ผลผลิต) 4. สรุปจำนวนสถานประกอบการผลิตน้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท และน้ำแข็งที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน คือ 136 แห่ง จากสถานประกอบการที่เก็บตัวอย่างส่งตรวจทั้งหมด 154 แห่ง ได้ร้อยละของสถานประกอบการที่ได้รับการตรวจคุณภาพน้ำ/น้ำแข็งและผ่านเกณฑ์มาตรฐาน คือร้อยละ 88.3 (ผลลัพธ์)//
1. ประสานงานกับฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล เพื่อเก็บตัวอย่างส่งตรวจตามวันที่กำหนดในแผนการเก็บตัวอย่าง 2. ดำเนินการตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท และน้ำแข็ง ตั้งแต่วันที่ 2 มีนาคม 2563 ถึง 10 สิงหาคม 2563 โดยดำเนินการตรวจน้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิทจากสถานประกอบการ จำนวน 150 แห่ง จากเป้าหมาย 165 แห่ง (คิดเป็นร้อยละ 90.9) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 148 แห่ง (คิดเป็นร้อยละ 98.7) และตรวจน้ำแข็งจากสถานประกอบการจำนวน 69 แห่ง จากเป้าหมาย 71 แห่ง (คิดเป็นร้อยละ 97.2) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 69 แห่ง (คิดเป็นร้อยละ 100) 3. สรุปจำนวนสถานประกอบการผลิตน้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท และน้ำแข็งที่ได้รับการตรวจวิเคราะห์ คือ 219 แห่ง จากเป้าหมายรวม 236 แห่ง ได้ร้อยละของสถานประกอบการที่ได้รับการตรวจคุณภาพน้ำ/น้ำแข็งได้ตามเป้าหมาย คือร้อยละ 92.8 (ผลผลิต) 4. สรุปจำนวนสถานประกอบการผลิตน้ำบริโภคในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท และน้ำแข็งที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน คือ 217 แห่ง จากสถานประกอบการที่เก็บตัวอย่างส่งตรวจทั้งหมด 219 แห่ง ได้ร้อยละของสถานประกอบการที่ได้รับการตรวจคุณภาพน้ำ/น้ำแข็งและผ่านเกณฑ์มาตรฐาน คือร้อยละ 99.1 (ผลลัพธ์)//
๑.๖.๕ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีอาหารปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :100.00 |
อยู่ระหว่างดำเนินการสุ่มตรวจกระเช้าของขวัญปีใหม่ตามหลักเกณฑ์ของกรุงเทพมหานคร ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขตทั้ง 50 เขต ดำเนินการสุ่มตรวจกระเช้าของขวัญในช่วงเทศกาลปีใหม่ ปี พ.ศ. 2563 ที่จำหน่ายในสถานประกอบการที่เข้าร่วมโครงการควบคุมคุณภาพสินค้าของกรุงเทพมหานคร กรณีที่ผู้บริโภคไม่พึงพอใจในคุณภาพของสินค้าในกระเช้าของขวัญปีใหม่สามารถนำมาแลกเปลี่ยนหรือคืนได้ภายในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2563 เนื่องจากอยู่ระหว่างดำเนินการสุ่มตรวจกระเช้าของขวัญปีใหม่ตามหลักเกณฑ์ของกรุงเทพมหานครจึงยังไม่มีการรายงานผลฯ -//-
ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขตทั้ง 50 เขต ดำเนินการสุ่มตรวจสถานประกอบการที่จำหน่ายกระเช้าของขวัญในช่วงเทศกาลปีใหม่ ปี พ.ศ. 2563 ที่เข้าร่วมโครงการควบคุมคุณภาพสินค้าของกรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2562 - 29 กุมภาพันธ์ 2563 กรณีที่ผู้บริโภคไม่พึงพอใจในคุณภาพของสินค้าในกระเช้าของขวัญปีใหม่สามารถนำมาแลกเปลี่ยนหรือคืนได้ภายในวันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2563 โดยผลดำเนินการสุ่มตรวจสถานประกอบการ จำนวนทั้งหมด 551 แห่ง ไม่พบว่ามีการร้องเรียน หรือมีการนำสินค้าในกระเช้าของขวัญปีใหม่มาแลกเปลี่ยน/คืน-//-
ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขตทั้ง 50 เขต ดำเนินการสุ่มตรวจสถานประกอบการที่จำหน่ายกระเช้าของขวัญในช่วงเทศกาลปีใหม่ ปี พ.ศ. 2563 ที่เข้าร่วมโครงการควบคุมคุณภาพสินค้าของกรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2562 - 29 กุมภาพันธ์ 2563 กรณีที่ผู้บริโภคไม่พึงพอใจในคุณภาพของสินค้าในกระเช้าของขวัญปีใหม่สามารถนำมาแลกเปลี่ยนหรือคืนได้ภายในวันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2563 โดยผลดำเนินการสุ่มตรวจสถานประกอบการ จำนวนทั้งหมด 568 แห่ง ไม่พบว่ามีการร้องเรียน หรือมีการนำสินค้าในกระเช้าของขวัญปีใหม่มาแลกเปลี่ยน/คืน-//-
ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขตทั้ง 50 เขต ดำเนินการสุ่มตรวจสถานประกอบการที่จำหน่ายกระเช้าของขวัญในช่วงเทศกาลปีใหม่ ปี พ.ศ. 2563 ที่เข้าร่วมโครงการควบคุมคุณภาพสินค้าของกรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2562 - 29 กุมภาพันธ์ 2563 กรณีที่ผู้บริโภคไม่พึงพอใจในคุณภาพของสินค้าในกระเช้าของขวัญปีใหม่สามารถนำมาแลกเปลี่ยนหรือคืนได้ภายในวันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2563 โดยผลดำเนินการสุ่มตรวจสถานประกอบการ จำนวนทั้งหมด 568 แห่ง ไม่พบว่ามีการร้องเรียน หรือมีการนำสินค้าในกระเช้าของขวัญปีใหม่มาแลกเปลี่ยน/คืน-//-
๑.๖.๕ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีอาหารปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :95.00 ผลงาน :100.00 |
ผลการดำเนินการตรวจเนื้อสัตว์ ณ โรงฆ่าสัตว์ที่กรุงเทพมหานครกำกับดูแลตั้งแต่เดือนตุลาคม-ธันวาคม 2562 มีสัตว์ที่ผ่านทั้งการตรวจสุขภาพสัตว์ก่อนฆ่าและตรวจเนื้อสัตว์หลังฆ่าเพื่ออนุญาตให้นำเนื้อนั้นไปจำหน่ายได้ตรมกฎหมาย รวมจำนวน 245,960 ตัว และมีสัตว์ที่ตายก่อนฆ่าหรือไม่อนุญาตให้เข้าฆ่าเนื่องจากตรวจสุขภาพไม่ผ่าน รวมจำนวน 0 ตัว คิดเป็นร้อยละ 100...//
ผลการดำเนินการตรวจเนื้อสัตว์ ณ โรงฆ่าสัตว์ที่กรุงเทพมหานครกำกับดูแลตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 -มีนาคม 2563 มีสัตว์ที่ผ่านทั้งการตรวจสุขภาพสัตว์ก่อนฆ่าและตรวจเนื้อสัตว์หลังฆ่าเพื่ออนุญาตให้นำเนื้อนั้นไปจำหน่ายได้ตรมกฎหมาย รวมจำนวน 586,562 ตัว และมีสัตว์ที่ตายก่อนฆ่าหรือไม่อนุญาตให้เข้าฆ่าเนื่องจากตรวจสุขภาพไม่ผ่าน รวมจำนวน 0 ตัว คิดเป็นร้อยละ 100...//
-ผลการดำเนินการตรวจเนื้อสัตว์ ณ โรงฆ่าสัตว์ที่กรุงเทพมหานครกำกับดูแลตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 -มิถุนายน 2563 มีสัตว์ที่ผ่านทั้งการตรวจสุขภาพสัตว์ก่อนฆ่าและตรวจเนื้อสัตว์หลังฆ่าเพื่ออนุญาตให้นำเนื้อนั้นไปจำหน่ายได้ตรมกฎหมาย รวมจำนวน 1,053,296 ตัว และมีสัตว์ที่ตายก่อนฆ่าหรือไม่อนุญาตให้เข้าฆ่าเนื่องจากตรวจสุขภาพไม่ผ่าน รวมจำนวน 0 ตัว คิดเป็นร้อยละ 100...//
--ผลการดำเนินการตรวจเนื้อสัตว์ ณ โรงฆ่าสัตว์ที่กรุงเทพมหานครกำกับดูแลตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 -สิงหาคม 2563 มีสัตว์ที่ผ่านทั้งการตรวจสุขภาพสัตว์ก่อนฆ่าและตรวจเนื้อสัตว์หลังฆ่าเพื่ออนุญาตให้นำเนื้อนั้นไปจำหน่ายได้ตรมกฎหมาย รวมจำนวน 1,504,932 ตัว และมีสัตว์ที่ตายก่อนฆ่าหรือไม่อนุญาตให้เข้าฆ่าเนื่องจากตรวจสุขภาพไม่ผ่าน รวมจำนวน 0 ตัว คิดเป็นร้อยละ 100...//
๑.๖.๕ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีอาหารปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :97.00 ผลงาน :100.00 |
จากการดำเนินการลงพื้นที่ออกตรวจสัตว์ปีกเพื่อเฝ้าระวังโรคไข้หวัดนกในเขตกรุงเทพมหานครรตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 ดำเนินการทั้งสิ้น จำนวน 48 ครั้ง ตรวจสัตว์ปีกจำนวน 890 ตัวอย่าง ผลการตรวจเป็นผลบวก จำนวน 890 ตัวอย่าง ...//
จากการดำเนินการลงพื้นที่ออกตรวจสัตว์ปีกเพื่อเฝ้าระวังโรคไข้หวัดนกในเขตกรุงเทพมหานครรตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 ดำเนินการทั้งสิ้น จำนวน 120 ครั้ง ตรวจสัตว์ปีกจำนวน 2,255 ตัวอย่าง ผลการตรวจเป็นผลบวก จำนวน 2,255 ตัวอย่าง ...//
จากการดำเนินการลงพื้นที่ออกตรวจสัตว์ปีกเพื่อเฝ้าระวังโรคไข้หวัดนกในเขตกรุงเทพมหานครรตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 ดำเนินการทั้งสิ้น จำนวน 167 ครั้ง ตรวจสัตว์ปีกจำนวน 3,401 ตัวอย่าง ผลการตรวจเป็นผลบวก จำนวน 3,401 ตัวอย่าง ...//
-จากการดำเนินการลงพื้นที่ออกตรวจสัตว์ปีกเพื่อเฝ้าระวังโรคไข้หวัดนกในเขตกรุงเทพมหานครรตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 ดำเนินการทั้งสิ้น จำนวน 228 ครั้ง ตรวจสัตว์ปีกจำนวน 5,046 ตัวอย่าง ผลการตรวจเป็นผลบวก จำนวน 5,221 ตัวอย่าง ...//
๑.๖.๕ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีอาหารปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :80.00 ผลงาน :93.56 |
ผลการดำเนินงานสะสมตั้งแต่เดือน ตุลาคม 2562 รวมทั้งสิ้น 404 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 20.20 (ผ่านเกณฑ์การตรวจ 378 ตัวอย่าง ไม่ผ่านเกณฑ์ 26 ตัวอย่าง) ตัวอย่างเนื้อสัตว์ที่ได้รับการสุ่มตรวจไม่พบเชื้อโรคอาหารเป็นพิษคิดเป็นร้อยละ 93.56...//
ผลการดำเนินงานสะสมตั้งแต่เดือน ตุลาคม 2562 รวมทั้งสิ้น 950 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 47.50 (ผ่านเกณฑ์การตรวจ 882 ตัวอย่าง ไม่ผ่านเกณฑ์ 68 ตัวอย่าง) ตัวอย่างเนื้อสัตว์ที่ได้รับการสุ่มตรวจไม่พบเชื้อโรคอาหารเป็นพิษคิดเป็นร้อยละ 92.84...//
ผลการดำเนินงานสะสมตั้งแต่เดือน ตุลาคม 2562 รวมทั้งสิ้น 1,333 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 88.87 (ผ่านเกณฑ์การตรวจ 1,195 ตัวอย่าง ไม่ผ่านเกณฑ์ 138 ตัวอย่าง) ตัวอย่างเนื้อสัตว์ที่ได้รับการสุ่มตรวจไม่พบเชื้อโรคอาหารเป็นพิษคิดเป็นร้อยละ 89.65...//
ผลการดำเนินงานสะสมตั้งแต่เดือน ตุลาคม 2562 รวมทั้งสิ้น 1,898 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 94.90 (ผ่านเกณฑ์การตรวจ 1,708 ตัวอย่าง ไม่ผ่านเกณฑ์ 190 ตัวอย่าง) ตัวอย่างเนื้อสัตว์ที่ได้รับการสุ่มตรวจไม่พบเชื้อโรคอาหารเป็นพิษคิดเป็นร้อยละ 89.99.../
๑.๖.๕ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีอาหารปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :95.00 ผลงาน :100.00 |
ผลการดำเนินงานสะสมตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 จำนวนตัวอย่างเนื้อสัตว์ที่ได้รับการสุ่มตวจหายาต้านจุลชีพตกค้างรวมทั้งสิ้น 287ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 20.50 (ผ่านเกณฑ์การตรวจ 287 ตัวอย่าง ไม่ผ่านเกณฑ์การตรวจ 0 ตัวอย่าง) ตัวอย่างเนื้อสัตว์ที่ได้รับการสุ่มตรวจไม่พบยาต้านจุลชีพตกค้างคิดเป็นร้อยละ 100...//
ผลการดำเนินงานสะสมตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 จำนวนตัวอย่างเนื้อสัตว์ที่ได้รับการสุ่มตวจหายาต้านจุลชีพตกค้างรวมทั้งสิ้น 670 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 47.86 (ผ่านเกณฑ์การตรวจ 665 ตัวอย่าง ไม่ผ่านเกณฑ์การตรวจ 5 ตัวอย่าง) ตัวอย่างเนื้อสัตว์ที่ได้รับการสุ่มตรวจไม่พบยาต้านจุลชีพตกค้างคิดเป็นร้อยละ 99.25...//
ผลการดำเนินงานสะสมตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 จำนวนตัวอย่างเนื้อสัตว์ที่ได้รับการสุ่มตวจหายาต้านจุลชีพตกค้างรวมทั้งสิ้น 913 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 91.3 (ผ่านเกณฑ์การตรวจ 908 ตัวอย่าง ไม่ผ่านเกณฑ์การตรวจ 5 ตัวอย่าง) ตัวอย่างเนื้อสัตว์ที่ได้รับการสุ่มตรวจไม่พบยาต้านจุลชีพตกค้างคิดเป็นร้อยละ 99.45...//
-ผลการดำเนินงานสะสมตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 จำนวนตัวอย่างเนื้อสัตว์ที่ได้รับการสุ่มตวจหายาต้านจุลชีพตกค้างรวมทั้งสิ้น 1,316 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 94 (ผ่านเกณฑ์การตรวจ 1,307 ตัวอย่าง ไม่ผ่านเกณฑ์การตรวจ 9 ตัวอย่าง) ตัวอย่างเนื้อสัตว์ที่ได้รับการสุ่มตรวจไม่พบยาต้านจุลชีพตกค้างคิดเป็นร้อยละ 99.32...//
๑.๖.๕ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีอาหารปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :81.85 |
ผลดำเนินงานส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2562 ถึงวันที่ 20 ธันวาคม 2562 มีสถานประกอบการอาหารที่ได้รับการส่งเสริมให้มีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 1,683 ราย จากจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมด 19,759 ราย(ป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร มีอายุการรับรอง 1 ปี) -//-
ผลดำเนินงานส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2562 ถึงวันที่ 31 มีนาคม 2563 มีสถานประกอบการอาหารที่ได้รับการส่งเสริมให้มีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 8,498ราย จากจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมด 19,960 ราย(ป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร มีอายุการรับรอง 1 ปี)-//-
ผลดำเนินงานส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2562 ถึงวันที่ 29 มิถุนายน 2563 มีสถานประกอบการอาหารที่ได้รับการส่งเสริมให้มีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 11,882 ราย จากจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมด 20,101 ราย(ป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร มีอายุการรับรอง 1 ปี) -//-
ผลดำเนินงานส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2562 ถึงวันที่ 9 กันยายน 2563 มีสถานประกอบการอาหารที่ได้รับการส่งเสริมให้มีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 16,585 ราย จากจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมด 20,262 ราย (ป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร มีอายุการรับรอง 1 ปี) สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล ได้มีหนังสือด่วนที่สุด ที่ กท 0502/1190 ลงวันที่ 2 กรกฎาคม 2563 แจ้งมติที่ประชุมคณะกรรมการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปีของหน่วยงานสังกัดกรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 3/2563 เมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม 2563 กรณีได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยเห็นชอบปรับค่าเป้าหมายดำเนินการตามตัวชี้วัดดังกล่าวข้างต้น จากเดิมร้อยละ 100 เป็นร้อยละ 80 -//-
๓.๑.๒ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาสสามารถดำารงชีวิตได้อย่างมีศักดิ์ศรี | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :85.00 ผลงาน :100.00 |
- วางแผนการดำเนินงานและขออนุมัติโครงการ - ประสานนักสังคมสงเคราะห์ 68 แห่ง ให้ส่งรายชื่อผู้รับอุปกรณ์ - ได้รับอนุมัติโครงการจากผู้อำนวยการสำนักอนามัย - ได้รับและรวบรวมรายชื่อคนพิการ ผู้สูงอายุ และผู้ที่ประสบปัญหาทางการเคลื่อนไหวจากนักสังคมสงเคราะห์ ศูนย์บริการสาธารณสุข 64 แห่ง ได้แก่ รถเข็น 350 คน ไม้เท้าขาเดียว 200 คน ไม้เท้าสามขา 270 คน และอุปกรณ์ช่วยเดิน walker จำนวน 100 คน รวม 920 คน - ขออนุมัติแต่งตั้งคณะกรรมการจัดทำร่างขอบเขตของงานหรือคุณลักษณะเฉพาะและกำหนดราคากลางตามโครงการจัดหาอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหวแก่คนพิการ ผู้สูงอายุ และผู้ที่ประสบปัญหาทางการเคลื่อนไหว ปีงบประมาณ 2563 - จัดประชุมคณะกรรมการร่างขอบเขตของงานหรือลักษณะเฉพาะและกำหนดราคากลางตามโครงการจัดหาอุปกรณ์ช่วยเหลือฯ ปีงบประมาณ 2563 - ผู้อำนวยการสำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุขเห็นชอบให้ใช้ขอบเขตของงานหรือลักษณะเฉพาะ และกำหนดราคากลางตามโครงการจัดหาอุปกรณ์ช่วยเหลือฯ ปีงบประมาณ 2563 - อยู่ระหว่างเสนอขอใช้งบประมาณงวดที่ 1 เพื่อขอจัดซื้ออุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหวฯ จำนวน 4 รายการ ได้แก่ รถเข็น ไม้เท้าขาเดียว ไม้เท้าสามขา และอุปกรณ์ช่วยเดิน (walker) เป็นจำนว 1,949,100 บาทถ้วน
โครงการจัดหาอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหวแก่คนพิการ ผู้สูงอายุ และผู้ประสบปัญหาทางการเคลื่อนไหว โดย 1. วางแผนการปฏิบัติงานและจัดประชุมชี้แจงนักสังคมสงเคราะห์ ศูนย์บริการสาธารณสุข 2. นักสังคมสงเคราะห์ศูนย์บริการสาธารณสุข ค้นหา คนพิการ ผู้สูงอายุ และผู้ประสบปัญหาทางการเคลื่อนไหว เพื่อประเมินความจำเป็น และจัดทำทะเบียนผู้ขอรับความช่วยเหลือ 3. นักสังคมสงเคราะห์ศูนย์บริการสาธารณสุขทั้ง 68 แห่ง ส่งรายชื่อผู้ที่สมควรได้รับการช่วยเหลือเพื่อขอรับอุปกรณ์ 4 รายการ จำนวน 920 คน 4. ขออนุมัติโครงการและงบประมาณ 5. ขออนุมัติเงินประจำงวด 6. ดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างและได้ผู้รับจ้างเรียบร้อยแล้ว 7. อยู่ระหว่างดำเนินการขออนุมัติโอนกรรมสิทธิ์สังหาริมทรัพย์ที่ไม่มีลักษณะเป็นการจำหน่ายรายการอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหว 8. อยู่ระหว่างดำเนินการตรวจร่างสัญญาจัดซื้อจัดจ้าง
โครงการจัดหาอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหวแก่คนพิการ ผู้สูงอายุ และผู้ประสบปัญหาทางการเคลื่อนไหว โดย 1. วางแผนการปฏิบัติงานและจัดประชุมชี้แจงนักสังคมสงเคราะห์ ศูนย์บริการสาธารณสุข 2. นักสังคมสงเคราะห์ศูนย์บริการสาธารณสุข ค้นหา คนพิการ ผู้สูงอายุ และผู้ประสบปัญหาทางการเคลื่อนไหว เพื่อประเมินความจำเป็น และจัดทำทะเบียนผู้ขอรับความช่วยเหลือ 3. นักสังคมสงเคราะห์ศูนย์บริการสาธารณสุขทั้ง 68 แห่ง ส่งรายชื่อผู้ที่สมควรได้รับการช่วยเหลือเพื่อขอรับอุปกรณ์ 4 รายการ จำนวน 920 คน 4. ขออนุมัติโครงการและงบประมาณ 5. ขออนุมัติเงินประจำงวด 6. ดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างและได้ผู้รับจ้างเรียบร้อยแล้ว 7. อยู่ระหว่างดำเนินการขออนุมัติโอนกรรมสิทธิ์สังหาริมทรัพย์ที่ไม่มีลักษณะเป็นการจำหน่ายรายการอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหว 8. อยู่ระหว่างดำเนินการตรวจร่างสัญญาจัดซื้อจัดจ้าง 9. ลงนามในสัญญาเรียบร้อยแล้ว 10. แจ้งบริษัทเรื่องกำหนดเวลาส่งมอบอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหว จำนวน 4 รายการ ภายในวันที่ 21 มิถุนายน 2563
โครงการจัดหาอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหวแก่คนพิการ ผู้สูงอายุ และผู้ประสบปัญหาทางการเคลื่อนไหว โดย 1. วางแผนการปฏิบัติงานและจัดประชุมชี้แจงนักสังคมสงเคราะห์ ศูนย์บริการสาธารณสุข 2. นักสังคมสงเคราะห์ศูนย์บริการสาธารณสุข ค้นหา คนพิการ ผู้สูงอายุ และผู้ประสบปัญหาทางการเคลื่อนไหว เพื่อประเมินความจำเป็น และจัดทำทะเบียนผู้ขอรับความช่วยเหลือ 3. นักสังคมสงเคราะห์ศูนย์บริการสาธารณสุขทั้ง 68 แห่ง ส่งรายชื่อผู้ที่สมควรได้รับการช่วยเหลือเพื่อขอรับอุปกรณ์ 4 รายการ จำนวน 920 คน 4. ขออนุมัติโครงการและงบประมาณ 5. ขออนุมัติเงินประจำงวด 6. ดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างและได้ผู้รับจ้างเรียบร้อยแล้ว 7. อยู่ระหว่างดำเนินการขออนุมัติโอนกรรมสิทธิ์สังหาริมทรัพย์ที่ไม่มีลักษณะเป็นการจำหน่ายรายการอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหว 8. อยู่ระหว่างดำเนินการตรวจร่างสัญญาจัดซื้อจัดจ้าง 9. ลงนามในสัญญาเรียบร้อยแล้ว 10. แจ้งบริษัทเรื่องกำหนดเวลาส่งมอบอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหว จำนวน 4 รายการ ภายในวันที่ 21 มิถุนายน 2563 11. ตรวจรับและส่งมอบอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลือนไหวให้คนพิการ ผู้สูงอายุ และประสบปัญหาทางการเคลื่อนไหวเรียบร้อยแล้ว ทั้งหมด920 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 12. ด้วยสถานการณ์ระบาดโควิด-19 จึงเปลี่ยนกิจกรรมประชุมชี้แจงการใช้อุปกรณ์อย่างถูกวิธีเป็นการจัดทำสื่อวิธีการใช้อุปกรณ์อย่างถูกวิธีมอบให้ผู้ที่ได้รับอุปกรณ์ฯ แทน 13. สรุปผลการสำรวจความพึงพอใจผู้ได้รับอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหว มีความพึงพอใจในระดับมากขึ้นไป ร้อยละ 100
๓.๑.๑ มีระบบฐานข้อมูลเพื่อการดูแลผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาสอย่างครบวงจร | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :85.00 ผลงาน :100.00 |
- วางแผนการดำเนินงานและขออนุมัติโครงการ - ประสานนักสังคมสงเคราะห์ 68 แห่ง ให้ส่งรายชื่อผู้รับอุปกรณ์ - ได้รับอนุมัติโครงการจากผู้อำนวยการสำนักอนามัย - ได้รับและรวบรวมรายชื่อคนพิการ ผู้สูงอายุ และผู้ที่ประสบปัญหาทางการเคลื่อนไหวจากนักสังคมสงเคราะห์ ศูนย์บริการสาธารณสุข 64 แห่ง ได้แก่ รถเข็น 350 คน ไม้เท้าขาเดียว 200 คน ไม้เท้าสามขา 270 คน และอุปกรณ์ช่วยเดิน walker จำนวน 100 คน รวม 920 คน - ขออนุมัติแต่งตั้งคณะกรรมการจัดทำร่างขอบเขตของงานหรือคุณลักษณะเฉพาะและกำหนดราคากลางตามโครงการจัดหาอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหวแก่คนพิการ ผู้สูงอายุ และผู้ที่ประสบปัญหาทางการเคลื่อนไหว ปีงบประมาณ 2563 - จัดประชุมคณะกรรมการร่างขอบเขตของงานหรือลักษณะเฉพาะและกำหนดราคากลางตามโครงการจัดหาอุปกรณ์ช่วยเหลือฯ ปีงบประมาณ 2563 - ผู้อำนวยการสำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุขเห็นชอบให้ใช้ขอบเขตของงานหรือลักษณะเฉพาะ และกำหนดราคากลางตามโครงการจัดหาอุปกรณ์ช่วยเหลือฯ ปีงบประมาณ 2563 - อยู่ระหว่างเสนอขอใช้งบประมาณงวดที่ 1 เพื่อขอจัดซื้ออุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหวฯ จำนวน 4 รายการ ได้แก่ รถเข็น ไม้เท้าขาเดียว ไม้เท้าสามขา และอุปกรณ์ช่วยเดิน (walker) เป็นจำนว 1,949,100 บาทถ้วน
โครงการจัดหาอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหวแก่คนพิการ ผู้สูงอายุ และผู้ประสบปัญหาทางการเคลื่อนไหว โดย 1. วางแผนการปฏิบัติงานและจัดประชุมชี้แจงนักสังคมสงเคราะห์ ศูนย์บริการสาธารณสุข 2. นักสังคมสงเคราะห์ศูนย์บริการสาธารณสุข ค้นหา คนพิการ ผู้สูงอายุ และผู้ประสบปัญหาทางการเคลื่อนไหว เพื่อประเมินความจำเป็น และจัดทำทะเบียนผู้ขอรับความช่วยเหลือ 3. นักสังคมสงเคราะห์ศูนย์บริการสาธารณสุขทั้ง 68 แห่ง ส่งรายชื่อผู้ที่สมควรได้รับการช่วยเหลือเพื่อขอรับอุปกรณ์ 4 รายการ จำนวน 920 คน 4. ขออนุมัติโครงการและงบประมาณ 5. ขออนุมัติเงินประจำงวด 6. ดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างและได้ผู้รับจ้างเรียบร้อยแล้ว 7. อยู่ระหว่างดำเนินการขออนุมัติโอนกรรมสิทธิ์สังหาริมทรัพย์ที่ไม่มีลักษณะเป็นการจำหน่ายรายการอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหว 8. อยู่ระหว่างดำเนินการตรวจร่างสัญญาจัดซื้อจัดจ้าง
โครงการจัดหาอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหวแก่คนพิการ ผู้สูงอายุ และผู้ประสบปัญหาทางการเคลื่อนไหว โดย 1. วางแผนการปฏิบัติงานและจัดประชุมชี้แจงนักสังคมสงเคราะห์ ศูนย์บริการสาธารณสุข 2. นักสังคมสงเคราะห์ศูนย์บริการสาธารณสุข ค้นหา คนพิการ ผู้สูงอายุ และผู้ประสบปัญหาทางการเคลื่อนไหว เพื่อประเมินความจำเป็น และจัดทำทะเบียนผู้ขอรับความช่วยเหลือ 3. นักสังคมสงเคราะห์ศูนย์บริการสาธารณสุขทั้ง 68 แห่ง ส่งรายชื่อผู้ที่สมควรได้รับการช่วยเหลือเพื่อขอรับอุปกรณ์ 4 รายการ จำนวน 920 คน 4. ขออนุมัติโครงการและงบประมาณ 5. ขออนุมัติเงินประจำงวด 6. ดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างและได้ผู้รับจ้างเรียบร้อยแล้ว 7. อยู่ระหว่างดำเนินการขออนุมัติโอนกรรมสิทธิ์สังหาริมทรัพย์ที่ไม่มีลักษณะเป็นการจำหน่ายรายการอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหว 8. อยู่ระหว่างดำเนินการตรวจร่างสัญญาจัดซื้อจัดจ้าง 9. ลงนามในสัญญาเรียบร้อยแล้ว 10. แจ้งบริษัทเรื่องกำหนดเวลาส่งมอบอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหว จำนวน 4 รายการ ภายในวันที่ 21 มิถุนายน 2563
โครงการจัดหาอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหวแก่คนพิการ ผู้สูงอายุ และผู้ประสบปัญหาทางการเคลื่อนไหว โดย 1. วางแผนการปฏิบัติงานและจัดประชุมชี้แจงนักสังคมสงเคราะห์ ศูนย์บริการสาธารณสุข 2. นักสังคมสงเคราะห์ศูนย์บริการสาธารณสุข ค้นหา คนพิการ ผู้สูงอายุ และผู้ประสบปัญหาทางการเคลื่อนไหว เพื่อประเมินความจำเป็น และจัดทำทะเบียนผู้ขอรับความช่วยเหลือ 3. นักสังคมสงเคราะห์ศูนย์บริการสาธารณสุขทั้ง 68 แห่ง ส่งรายชื่อผู้ที่สมควรได้รับการช่วยเหลือเพื่อขอรับอุปกรณ์ 4 รายการ จำนวน 920 คน 4. ขออนุมัติโครงการและงบประมาณ 5. ขออนุมัติเงินประจำงวด 6. ดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างและได้ผู้รับจ้างเรียบร้อยแล้ว 7. อยู่ระหว่างดำเนินการขออนุมัติโอนกรรมสิทธิ์สังหาริมทรัพย์ที่ไม่มีลักษณะเป็นการจำหน่ายรายการอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหว 8. อยู่ระหว่างดำเนินการตรวจร่างสัญญาจัดซื้อจัดจ้าง 9. ลงนามในสัญญาเรียบร้อยแล้ว 10. แจ้งบริษัทเรื่องกำหนดเวลาส่งมอบอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหว จำนวน 4 รายการ ภายในวันที่ 21 มิถุนายน 2563 11. ตรวจรับและส่งมอบอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลือนไหวให้คนพิการ ผู้สูงอายุ และประสบปัญหาทางการเคลื่อนไหวเรียบร้อยแล้ว ทั้งหมด920 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 12. ด้วยสถานการณ์ระบาดโควิด-19 จึงเปลี่ยนกิจกรรมประชุมชี้แจงการใช้อุปกรณ์อย่างถูกวิธีเป็นการจัดทำสื่อวิธีการใช้อุปกรณ์อย่างถูกวิธีมอบให้ผู้ที่ได้รับอุปกรณ์ฯ แทน 13. สรุปผลการสำรวจความพึงพอใจผู้ได้รับอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหว มีความพึงพอใจในระดับมากขึ้นไป ร้อยละ 100
๓.๑.๒ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาสสามารถดำารงชีวิตได้อย่างมีศักดิ์ศรี | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :80.00 ผลงาน :100.00 |
1) โครงการการจัดกิจกรรม “การขับเคลื่อนงานและเสริมสร้างพลังชุมชนด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหา ความรุนแรงในครอบครัว ด้านสาธารณสุข” - วางแผนการดำเนินการ - จัดทำรายละเอียดกิจกรรม - อยู่ระหว่างเสนอขอความเห็นชอบหลักการดำเนินโครงการ 2) โครงการสัมมนาและดูงานเครือข่ายผู้ปฏิบัติงานด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัวด้านสาธารณสุข - วางแผนการดำเนินการ - อยู่ระหว่างจัดทำรายละเอียดการจัดสัมมนา - อยู่ระหว่างเสนอขอความเห็นชอบดำเนินโครงการ 3) กิจกรรมการช่วยเหลือผู้ถูกกระทำและ/หรือผู้ได้รับผลกระทบจากความรุนแรงในครอบครัวของศูนย์จัดการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัว (ศจร.) - วางแผนการดำเนินงานและเวียนแจ้งให้ผู้ปฏิบัติงานทราบ - จัดทำแบบรายงาน - อยู่ระหว่างการเก็บรวบรวมข้อมูลจากศูนย์บริการสาธารณสุข ครั้งที่ 1
1.โครงการการจัดกิจกรรม "การขับเคลื่อนงานและเสริมสร้างพลังชุมชนด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหา ความรุนแรงในครอบครัวด้านสาธารณสุข โดย 1.1 วางแผนดำเนินการ 1.2 เสนอขอความเห็นชอบในหลักการเพื่ออนุมัติโครงการและขออนุมัติใช้เงินนอกงบประมาณ ประเภทเงินบำรุงสถานบริการสาธารณสุข สำนักอนามัย 1.3 อนุมัติโครงการและขออนุมัติใช้เงินนอกงบประมาณเรียบร้อยแล้ว 2.โครงการสัมมนาและดูงานเครือข่ายผู้ปฏิบัติงานด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัวด้านสาธารณสุข โดย 2.1 วางแผนดำเนินการ 2.2 เสนอขอความเห็นชอบในหลักการเพื่ออนุมัติโครงการและขออนุมัติใช้เงินนอกงบประมาณ ประเภทเงินบำรุงสถานบริการสาธารณสุข สำนักอนามัย 2.3 อนุมัติโครงการและขออนุมัติใช้เงินนอกงบประมาณเรียบร้อยแล้ว 3.กิจกรรมการช่วยเหลือผู้ถูกกระทำและ/หรือผู้ได้รับผลกระทบจากความรุนแรงในครอบครัวของศูนย์จัดการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัว (ศจร.) โดย 3.1 วางแผนดำเนินการ 3.2 จัดทำแบบรายงาน 3.3 จัดประชุมชี้แจง 3.4 ประสานเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งที่ 1 3.5 อยู่ระหว่างสรุปรวบรวมข้อมูล 3.6 ผู้ถูกกระทำและ/หรือผู้ได้รับผลกระทบจากความรุนแรงในครอบครัวได้รับความช่วยเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2562 จำนวน 32 ราย 3.7 ประสานเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งที่ 2
1.โครงการการจัดกิจกรรม "การขับเคลื่อนงานและเสริมสร้างพลังชุมชนด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหา ความรุนแรงในครอบครัวด้านสาธารณสุข" โดย 1.1 วางแผนดำเนินการ 1.2 เสนอขอความเห็นชอบในหลักการเพื่ออนุมัติโครงการและขออนุมัติใช้เงินนอกงบประมาณ ประเภทเงินบำรุงสถานบริการสาธารณสุข สำนักอนามัย 1.3 อนุมัติโครงการและขออนุมัติใช้เงินนอกงบประมาณเรียบร้อยแล้ว 1.4 ยกเลิกโครงการด้านสถานการณ์ระบาดโควิด-19 2.โครงการสัมมนาและดูงานเครือข่ายผู้ปฏิบัติงานด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัวด้านสาธารณสุข โดย 2.1 วางแผนดำเนินการ 2.2 เสนอขอความเห็นชอบในหลักการเพื่ออนุมัติโครงการและขออนุมัติใช้เงินนอกงบประมาณ ประเภทเงินบำรุงสถานบริการสาธารณสุข สำนักอนามัย 2.3 อนุมัติโครงการและขออนุมัติใช้เงินนอกงบประมาณเรียบร้อยแล้ว 2.4 ยกเลิกโครงการด้านสถานการณ์ระบาดโควิด-19 3.กิจกรรมการช่วยเหลือผู้ถูกกระทำและ/หรือผู้ได้รับผลกระทบจากความรุนแรงในครอบครัวของศูนย์จัดการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัว (ศจร.) โดย 3.1 วางแผนดำเนินการ 3.2 จัดทำแบบรายงาน 3.3 จัดประชุมชี้แจง 3.4 ประสานเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งที่ 1 3.5 อยู่ระหว่างสรุปรวบรวมข้อมูล 3.6 ผู้ถูกกระทำและ/หรือผู้ได้รับผลกระทบจากความรุนแรงในครอบครัวได้รับความช่วยเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2562 จำนวน 32 ราย 3.7 ประสานเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งที่ 2 3.8 อยู่ระหว่างสรุปรวบรวมข้อมูล 3.9 ผู้ถูกกระทำและ/หรือผู้ได้รับผลกระทบจากความรุนแรงในครอบครัวได้รับความช่วยเหลือ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2563 จำนวน 21 ราย
1.โครงการการจัดกิจกรรม "การขับเคลื่อนงานและเสริมสร้างพลังชุมชนด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหา ความรุนแรงในครอบครัวด้านสาธารณสุข" โดย 1.1 วางแผนดำเนินการ 1.2 เสนอขอความเห็นชอบในหลักการเพื่ออนุมัติโครงการและขออนุมัติใช้เงินนอกงบประมาณ ประเภทเงินบำรุงสถานบริการสาธารณสุข สำนักอนามัย 1.3 อนุมัติโครงการและขออนุมัติใช้เงินนอกงบประมาณเรียบร้อยแล้ว 1.4 ยกเลิกโครงการด้านสถานการณ์ระบาดโควิด-19 2.โครงการสัมมนาและดูงานเครือข่ายผู้ปฏิบัติงานด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัวด้านสาธารณสุข โดย 2.1 วางแผนดำเนินการ 2.2 เสนอขอความเห็นชอบในหลักการเพื่ออนุมัติโครงการและขออนุมัติใช้เงินนอกงบประมาณ ประเภทเงินบำรุงสถานบริการสาธารณสุข สำนักอนามัย 2.3 อนุมัติโครงการและขออนุมัติใช้เงินนอกงบประมาณเรียบร้อยแล้ว 2.4 ยกเลิกโครงการด้านสถานการณ์ระบาดโควิด-19 3.กิจกรรมการช่วยเหลือผู้ถูกกระทำและ/หรือผู้ได้รับผลกระทบจากความรุนแรงในครอบครัวของศูนย์จัดการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัว (ศจร.) โดย 3.1 วางแผนดำเนินการ 3.2 จัดทำแบบรายงาน 3.3 จัดประชุมชี้แจง 3.4 ประสานเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งที่ 1 3.5 อยู่ระหว่างสรุปรวบรวมข้อมูล 3.6 ผู้ถูกกระทำและ/หรือผู้ได้รับผลกระทบจากความรุนแรงในครอบครัวได้รับความช่วยเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2562 จำนวน 32 ราย 3.7 ประสานเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งที่ 2 3.8 อยู่ระหว่างสรุปรวบรวมข้อมูล 3.9 ผู้ถูกกระทำและ/หรือผู้ได้รับผลกระทบจากความรุนแรงในครอบครัวได้รับความช่วยเหลือ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2563 จำนวน 21 ราย 3.10 ผู้ถูกกระทำและ/หรือผู้ได้รับผลกระทบจากความรุนแรงในครอบครัวได้รับความช่วยเหลือ ณ วันที่ 31 สิงหาคม 2563 จำนวน 137 ราย 3.11 สรุปผลการดำเนินงาน ผู้ถูกกระทำและ/หรือผู้ได้รับผลกระทบจากความรุนแรงในครอบครัวได้รับความช่วยเหลือ จำนวนทั้งสิ้น 190 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 ของผู้ถูกกระุทำและ/หรือผู้ได้รับผลกระทบจากความรุนแรงในครอบครัวได้รับความช่วยเหลือ
๓.๑.๑ มีระบบฐานข้อมูลเพื่อการดูแลผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาสอย่างครบวงจร | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :80.00 ผลงาน :100.00 |
1) โครงการการจัดกิจกรรม “การขับเคลื่อนงานและเสริมสร้างพลังชุมชนด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหา ความรุนแรงในครอบครัว ด้านสาธารณสุข” - วางแผนการดำเนินการ - จัดทำรายละเอียดกิจกรรม - อยู่ระหว่างเสนอขอความเห็นชอบหลักการดำเนินโครงการ 2) โครงการสัมมนาและดูงานเครือข่ายผู้ปฏิบัติงานด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัวด้านสาธารณสุข - วางแผนการดำเนินการ - อยู่ระหว่างจัดทำรายละเอียดการจัดสัมมนา - อยู่ระหว่างเสนอขอความเห็นชอบดำเนินโครงการ 3) กิจกรรมการช่วยเหลือผู้ถูกกระทำและ/หรือผู้ได้รับผลกระทบจากความรุนแรงในครอบครัวของศูนย์จัดการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัว (ศจร.) - วางแผนการดำเนินงานและเวียนแจ้งให้ผู้ปฏิบัติงานทราบ - จัดทำแบบรายงาน - อยู่ระหว่างการเก็บรวบรวมข้อมูลจากศูนย์บริการสาธารณสุข ครั้งที่ 1
1.โครงการการจัดกิจกรรม "การขับเคลื่อนงานและเสริมสร้างพลังชุมชนด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหา ความรุนแรงในครอบครัวด้านสาธารณสุข โดย 1.1 วางแผนดำเนินการ 1.2 เสนอขอความเห็นชอบในหลักการเพื่ออนุมัติโครงการและขออนุมัติใช้เงินนอกงบประมาณ ประเภทเงินบำรุงสถานบริการสาธารณสุข สำนักอนามัย 1.3 อนุมัติโครงการและขออนุมัติใช้เงินนอกงบประมาณเรียบร้อยแล้ว 2.โครงการสัมมนาและดูงานเครือข่ายผู้ปฏิบัติงานด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัวด้านสาธารณสุข โดย 2.1 วางแผนดำเนินการ 2.2 เสนอขอความเห็นชอบในหลักการเพื่ออนุมัติโครงการและขออนุมัติใช้เงินนอกงบประมาณ ประเภทเงินบำรุงสถานบริการสาธารณสุข สำนักอนามัย 2.3 อนุมัติโครงการและขออนุมัติใช้เงินนอกงบประมาณเรียบร้อยแล้ว 3.กิจกรรมการช่วยเหลือผู้ถูกกระทำและ/หรือผู้ได้รับผลกระทบจากความรุนแรงในครอบครัวของศูนย์จัดการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัว (ศจร.) โดย 3.1 วางแผนดำเนินการ 3.2 จัดทำแบบรายงาน 3.3 จัดประชุมชี้แจง 3.4 ประสานเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งที่ 1 3.5 อยู่ระหว่างสรุปรวบรวมข้อมูล 3.6 ผู้ถูกกระทำและ/หรือผู้ได้รับผลกระทบจากความรุนแรงในครอบครัวได้รับความช่วยเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2562 จำนวน 32 ราย 3.7 ประสานเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งที่ 2
1.โครงการการจัดกิจกรรม "การขับเคลื่อนงานและเสริมสร้างพลังชุมชนด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหา ความรุนแรงในครอบครัวด้านสาธารณสุข" โดย 1.1 วางแผนดำเนินการ 1.2 เสนอขอความเห็นชอบในหลักการเพื่ออนุมัติโครงการและขออนุมัติใช้เงินนอกงบประมาณ ประเภทเงินบำรุงสถานบริการสาธารณสุข สำนักอนามัย 1.3 อนุมัติโครงการและขออนุมัติใช้เงินนอกงบประมาณเรียบร้อยแล้ว 1.4 ยกเลิกโครงการด้านสถานการณ์ระบาดโควิด-19 2.โครงการสัมมนาและดูงานเครือข่ายผู้ปฏิบัติงานด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัวด้านสาธารณสุข โดย 2.1 วางแผนดำเนินการ 2.2 เสนอขอความเห็นชอบในหลักการเพื่ออนุมัติโครงการและขออนุมัติใช้เงินนอกงบประมาณ ประเภทเงินบำรุงสถานบริการสาธารณสุข สำนักอนามัย 2.3 อนุมัติโครงการและขออนุมัติใช้เงินนอกงบประมาณเรียบร้อยแล้ว 2.4 ยกเลิกโครงการด้านสถานการณ์ระบาดโควิด-19 3.กิจกรรมการช่วยเหลือผู้ถูกกระทำและ/หรือผู้ได้รับผลกระทบจากความรุนแรงในครอบครัวของศูนย์จัดการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัว (ศจร.) โดย 3.1 วางแผนดำเนินการ 3.2 จัดทำแบบรายงาน 3.3 จัดประชุมชี้แจง 3.4 ประสานเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งที่ 1 3.5 อยู่ระหว่างสรุปรวบรวมข้อมูล 3.6 ผู้ถูกกระทำและ/หรือผู้ได้รับผลกระทบจากความรุนแรงในครอบครัวได้รับความช่วยเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2562 จำนวน 32 ราย 3.7 ประสานเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งที่ 2 3.8 อยู่ระหว่างสรุปรวบรวมข้อมูล 3.9 ผู้ถูกกระทำและ/หรือผู้ได้รับผลกระทบจากความรุนแรงในครอบครัวได้รับความช่วยเหลือ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2563 จำนวน 21 ราย
1.โครงการการจัดกิจกรรม "การขับเคลื่อนงานและเสริมสร้างพลังชุมชนด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหา ความรุนแรงในครอบครัวด้านสาธารณสุข" โดย 1.1 วางแผนดำเนินการ 1.2 เสนอขอความเห็นชอบในหลักการเพื่ออนุมัติโครงการและขออนุมัติใช้เงินนอกงบประมาณ ประเภทเงินบำรุงสถานบริการสาธารณสุข สำนักอนามัย 1.3 อนุมัติโครงการและขออนุมัติใช้เงินนอกงบประมาณเรียบร้อยแล้ว 1.4 ยกเลิกโครงการด้านสถานการณ์ระบาดโควิด-19 2.โครงการสัมมนาและดูงานเครือข่ายผู้ปฏิบัติงานด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัวด้านสาธารณสุข โดย 2.1 วางแผนดำเนินการ 2.2 เสนอขอความเห็นชอบในหลักการเพื่ออนุมัติโครงการและขออนุมัติใช้เงินนอกงบประมาณ ประเภทเงินบำรุงสถานบริการสาธารณสุข สำนักอนามัย 2.3 อนุมัติโครงการและขออนุมัติใช้เงินนอกงบประมาณเรียบร้อยแล้ว 2.4 ยกเลิกโครงการด้านสถานการณ์ระบาดโควิด-19 3.กิจกรรมการช่วยเหลือผู้ถูกกระทำและ/หรือผู้ได้รับผลกระทบจากความรุนแรงในครอบครัวของศูนย์จัดการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัว (ศจร.) โดย 3.1 วางแผนดำเนินการ 3.2 จัดทำแบบรายงาน 3.3 จัดประชุมชี้แจง 3.4 ประสานเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งที่ 1 3.5 อยู่ระหว่างสรุปรวบรวมข้อมูล 3.6 ผู้ถูกกระทำและ/หรือผู้ได้รับผลกระทบจากความรุนแรงในครอบครัวได้รับความช่วยเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2562 จำนวน 32 ราย 3.7 ประสานเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งที่ 2 3.8 อยู่ระหว่างสรุปรวบรวมข้อมูล 3.9 ผู้ถูกกระทำและ/หรือผู้ได้รับผลกระทบจากความรุนแรงในครอบครัวได้รับความช่วยเหลือ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2563 จำนวน 21 ราย 3.10 ผู้ถูกกระทำและ/หรือผู้ได้รับผลกระทบจากความรุนแรงในครอบครัวได้รับความช่วยเหลือ ณ วันที่ 31 สิงหาคม 2563 จำนวน 137 ราย 3.11 สรุปผลการดำเนินงาน ผู้ถูกกระทำและ/หรือผู้ได้รับผลกระทบจากความรุนแรงในครอบครัวได้รับความช่วยเหลือ จำนวนทั้งสิ้น 190 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 ของผู้ถูกกระุทำและ/หรือผู้ได้รับผลกระทบจากความรุนแรงในครอบครัวได้รับความช่วยเหลือ
๓.๑.๓ ผู้สูงอายุได้รับการดูแลสุขภาพอย่างครบวงจรเพื่อคุณภาพชีวิตที่ด | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :81.61 |
อยู่ระหว่างการแจ้งแผนและแนวทางการดำเนินงานให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ
ผลการสำรวจข้อมูลพื้นฐานในปีงบประมาณ 2563 พบว่า ชมรมผู้สูงอายุของสำนักอนามัยในปัจจุบันมีจำนวน 290 ชมรม มีจำนวนสมาชิก 23,515 คน โดยมีสมาชิกชมรมผู้สูงอายุของสำนักอนามัยที่เข้าร่วมกิจกรรม 4 ครั้ง/ปี จำนวน 14,114 คน โดยผลการดำเนินงานเดือนตุลาคม 2562-มีนาคม 2563 สมาชิกชมรมผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองสุขภาพ/ตรวจสุขภาพประจำปี จำนวน 2,002 คน จากสมาชิกชมรมผู้สูงอายุของสำนักอนามัยที่เข้าร่วมกิจกรรม 4 ครั้ง/ปี จำนวน 14,114 คน คิดเป็นร้อยละ 14.18
ผลการดำเนินงานเดือนตุลาคม 2562-พฤษภาคม 2563 สมาชิกชมรมผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองสุขภาพ/ตรวจสุขภาพประจำปี จำนวน 7,262 คน จากสมาชิกชมรมผู้สูงอายุของสำนักอนามัยที่เข้าร่วมกิจกรรม 4 ครั้ง/ปี จำนวน 14,114 คน คิดเป็นร้อยละ 51.45
ผลการดำเนินงานเดือนตุลาคม 2562-เดือนสิงหาคม 2563 พบว่า สมาชิกชมรมผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองสุขภาพ/ตรวจสุขภาพประจำปี จำนวน 11,519 คน จากสมาชิกชมรมผู้สูงอายุของสำนักอนามัยที่เข้าร่วมกิจกรรม 4 ครั้ง/ปี จำนวน 14,114 คน คิดเป็นร้อยละ 81.61
๓.๑.๒ มีระบบสาธารณูปโภคและโครงสร้างพื้นฐานที่เหมาะสมสำหรับผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :81.61 |
อยู่ระหว่างการแจ้งแผนและแนวทางการดำเนินงานให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ
ผลการสำรวจข้อมูลพื้นฐานในปีงบประมาณ 2563 พบว่า ชมรมผู้สูงอายุของสำนักอนามัยในปัจจุบันมีจำนวน 290 ชมรม มีจำนวนสมาชิก 23,515 คน โดยมีสมาชิกชมรมผู้สูงอายุของสำนักอนามัยที่เข้าร่วมกิจกรรม 4 ครั้ง/ปี จำนวน 14,114 คน โดยผลการดำเนินงานเดือนตุลาคม 2562-มีนาคม 2563 สมาชิกชมรมผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองสุขภาพ/ตรวจสุขภาพประจำปี จำนวน 2,002 คน จากสมาชิกชมรมผู้สูงอายุของสำนักอนามัยที่เข้าร่วมกิจกรรม 4 ครั้ง/ปี จำนวน 14,114 คน คิดเป็นร้อยละ 14.18
ผลการดำเนินงานเดือนตุลาคม 2562-พฤษภาคม 2563 สมาชิกชมรมผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองสุขภาพ/ตรวจสุขภาพประจำปี จำนวน 7,262 คน จากสมาชิกชมรมผู้สูงอายุของสำนักอนามัยที่เข้าร่วมกิจกรรม 4 ครั้ง/ปี จำนวน 14,114 คน คิดเป็นร้อยละ 51.45
ผลการดำเนินงานเดือนตุลาคม 2562-เดือนสิงหาคม 2563 พบว่า สมาชิกชมรมผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองสุขภาพ/ตรวจสุขภาพประจำปี จำนวน 11,519 คน จากสมาชิกชมรมผู้สูงอายุของสำนักอนามัยที่เข้าร่วมกิจกรรม 4 ครั้ง/ปี จำนวน 14,114 คน คิดเป็นร้อยละ 81.61
๓.๑.๓ ผู้สูงอายุได้รับการดูแลสุขภาพอย่างครบวงจรเพื่อคุณภาพชีวิตที่ด | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :80.00 ผลงาน :100.00 |
อยู่ระหว่างขั้นตอนผู้ตรวจการพยาบาลติดตามการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านตามแผน (ต่อเนื่อง) โดยในเดือนธันวาคมดำเนินการติดตามเยี่ยมจำนวน 18 แห่ง ขณะนี้ผู้ตรวจการพยาบาลติดตามตรวจเยี่ยมและให้คำแนะนำแล้วเสร็จไปแล้ว จำนวน 13 ศูนย์ ได้แก่ ศูนย์บริการสาธารณสุข 1,5,9,12,25,26,30,35,37,41,43,52 และ 55 จำนวนผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน (Caregiver : CG) ที่ปฏิบัติงานจริงจำนวน 600 คน จากจำนวนทั้งหมด 3439 คน (Caregiver : CG ปีงบประมาณ 2559 - 2562 เนื่องจาก Caregiver ในปี 2563 ยังอยู่ระหว่างการฝึกอบรมภาคทฤษฎี) โดยผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ที่ปฏิบัติงานจริงได้รับการติดตาม กำกับ ดูแล จากพยาบาลผู้จัดการสุขภาพและผู้ตรวจการพยาบาล คิดเป็นร้อยละ 17.44 ของผู้ดูแลฯทั้งหมด
ร้อยละ 100 ของผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ที่ปฏิบัติงานจริงทั้งหมดของศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน 68 แห่ง ได้รับการติดตาม กำกับ ดูแล จากพยาบาลผู้จัดการสุขภาพและผู้ตรวจการพยาบาล (ติดตามระยะที่ 1 จะมีการติดตามประเมินผล ระยะที่ 2 ตั้งแต่ เม.ย.63 – ก.ย.63) จำนวนผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน (Caregiver : CG) ที่ปฏิบัติงานจริงจำนวน 3439 คน จากจำนวนทั้งหมด 3439 คน (Caregiver : CG ปีงบประมาณ 2559 - 2562 เนื่องจาก Caregiver ในปี 2563 ยังอยู่ระหว่างการฝึกอบรมภาคปฏิบัติในพื้นที่) 1. ขออนุมัติโครงการ และแผนการใช้เงินงบประมาณ เรียบร้อยแล้ว 2. จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน เรียบร้อยแล้ว 3. ดำเนินการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน 4. ดำเนินการพัฒนารูปแบบผู้ตรวจการพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน (Supervise Nurse Home ward) 5. สนับสนุนชุดอุปกรณ์การดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน 6. ผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านปฏิบัติงานช่วยเหลืองานพยาบาลในพื้นที่กรุงเทพมหานครตามกำหนด และรายงานผลการปฏิบัติงาน 7. ติดตาม ควบคุม กำกับการดำเนินงานให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และถูกต้องตามมาตรฐานการปฏิบัติการพยาบาล ดังนี้ - ผู้ตรวจการพยาบาลติดตามการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านตามแผน โดยในเดือนมีนาคม 2563 จะดำเนินการติดตามเยี่ยม เพื่อการติดตาม กำกับ ดูแล ผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลือพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ที่ปฏิบัติงานจริงในศูนย์บริการสาธารณสุขครบทั้ง 68 แห่ง (การติดตามระยะที่ 1 ได้ดำเนินการครบทั้งหมดแล้ว จะมีการติดตามประเมินผล ระยะที่ 2 ตั้งแต่ เม.ย.63 – ก.ย.63)
ร้อยละ 100 ของผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ที่ปฏิบัติงานจริงทั้งหมดของศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน 68 แห่ง ได้รับการติดตาม กำกับ ดูแล จากพยาบาลผู้จัดการสุขภาพและผู้ตรวจการพยาบาล (Caregiver : CG) ที่ปฏิบัติงานจริงจำนวน 3,607 คน จากจำนวนทั้งหมด 3,607 คน (Caregiver : CG ปีงบประมาณ 2559 - 2563 ได้รับการติดตาม กำกับ ดูแล จากพยาบาลผู้จัดการสุขภาพและผู้ตรวจการพยาบาล ) ความสำเร็จของการดำเนินโครงการ คิดเป็นร้อยละ 95 1. ขออนุมัติโครงการ และแผนการใช้เงินงบประมาณ เรียบร้อยแล้ว 2. จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน เรียบร้อยแล้ว 3. ดำเนินการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน 4. ดำเนินการพัฒนารูปแบบผู้ตรวจการพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน (Supervise Nurse Home ward) 5. สนับสนุนชุดอุปกรณ์การดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน 6. ผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านปฏิบัติงานช่วยเหลืองานพยาบาลในพื้นที่กรุงเทพมหานครตามกำหนด และรายงานผลการปฏิบัติงาน 7. ติดตาม ควบคุม กำกับการดำเนินงานให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และถูกต้องตามมาตรฐานการปฏิบัติการพยาบาล ดังนี้ - ผู้ตรวจการพยาบาลติดตามการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านตามแผน โดยในเดือนมีนาคม 2563 จะดำเนินการติดตามเยี่ยม เพื่อการติดตาม กำกับ ดูแล ผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลือพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ที่ปฏิบัติงานจริงในศูนย์บริการสาธารณสุขครบทั้ง 68 แห่ง (การติดตามระยะที่ 1 ได้ดำเนินการครบทั้งหมดแล้ว ทั้งนี้ การติดตามประเมินผล ระยะที่ 2 ตั้งแต่ เม.ย.63 – ก.ย.63 ได้ขออนุมัติยกเลิกกิจกรรมฯดังกล่าว ให้เป็นไปตามข้อคำสั่งแนวทางปฏิบัติของกรุงเทพมหานคร ) ทั้งนี้ ร้อยละ 100 ของผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ที่ปฏิบัติงานจริงได้รับการติดตาม กำกับ ดูแล จากพยาบาลผู้จัดการสุขภาพและผู้ตรวจการพยาบาล เนื่องจาก พยาบาลผู้จัดการสุขภาพได้ลงตรวจเยี่ยมในระยะที่ 1 โดยทำการตรวจเยี่ยมศูนย์บริการสาธารณสุข ทั้ง 68 แห่ง เพื่อติดตาม กำกับ ดูแล การปฏิบัติงานของผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ที่ปฏิบัติงานจริง ทั้งหมดเรียบร้อยแล้ว โดยพยาบาลผู้จัดการสุขภาพได้ดำเนินการติดตาม กำกับ ดูแล การปฏิบัติงานของผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านอย่างต่อเนื่อง
ร้อยละ 100 ของผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ที่ปฏิบัติงานจริงทั้งหมดของศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน 68 แห่ง ได้รับการติดตาม กำกับ ดูแล จากพยาบาลผู้จัดการสุขภาพและผู้ตรวจการพยาบาล (Caregiver : CG) ที่ปฏิบัติงานจริงจำนวน 3,607 คน จากจำนวนทั้งหมด 3,607 คน (Caregiver : CG ปีงบประมาณ 2559 - 2563 ได้รับการติดตาม กำกับ ดูแล จากพยาบาลผู้จัดการสุขภาพและผู้ตรวจการพยาบาล ) ความสำเร็จของการดำเนินโครงการ คิดเป็นร้อยละ 100 1. ขออนุมัติโครงการ และแผนการใช้เงินงบประมาณ เรียบร้อยแล้ว 2. จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน เรียบร้อยแล้ว 3. ดำเนินการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน 4. ดำเนินการพัฒนารูปแบบผู้ตรวจการพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน (Supervise Nurse Home ward) 5. สนับสนุนชุดอุปกรณ์การดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน 6. ผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านปฏิบัติงานช่วยเหลืองานพยาบาลในพื้นที่กรุงเทพมหานครตามกำหนด และรายงานผลการปฏิบัติงาน 7. ติดตาม ควบคุม กำกับการดำเนินงานให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และถูกต้องตามมาตรฐานการปฏิบัติการพยาบาล ดังนี้ - ผู้ตรวจการพยาบาลติดตามการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านตามแผน โดยในเดือนมีนาคม 2563 จะดำเนินการติดตามเยี่ยม เพื่อการติดตาม กำกับ ดูแล ผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลือพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ที่ปฏิบัติงานจริงในศูนย์บริการสาธารณสุขครบทั้ง 68 แห่ง (การติดตามระยะที่ 1 ได้ดำเนินการครบทั้งหมดแล้ว ทั้งนี้ การติดตามประเมินผล ระยะที่ 2 ตั้งแต่ เม.ย.63 – ก.ย.63 ได้ขออนุมัติยกเลิกกิจกรรมฯดังกล่าว ให้เป็นไปตามข้อคำสั่งแนวทางปฏิบัติของกรุงเทพมหานคร )
๓.๑.๒ มีระบบสาธารณูปโภคและโครงสร้างพื้นฐานที่เหมาะสมสำหรับผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :80.00 ผลงาน :100.00 |
อยู่ระหว่างขั้นตอนผู้ตรวจการพยาบาลติดตามการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านตามแผน (ต่อเนื่อง) โดยในเดือนธันวาคมดำเนินการติดตามเยี่ยมจำนวน 18 แห่ง ขณะนี้ผู้ตรวจการพยาบาลติดตามตรวจเยี่ยมและให้คำแนะนำแล้วเสร็จไปแล้ว จำนวน 13 ศูนย์ ได้แก่ ศูนย์บริการสาธารณสุข 1,5,9,12,25,26,30,35,37,41,43,52 และ 55 จำนวนผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน (Caregiver : CG) ที่ปฏิบัติงานจริงจำนวน 600 คน จากจำนวนทั้งหมด 3439 คน (Caregiver : CG ปีงบประมาณ 2559 - 2562 เนื่องจาก Caregiver ในปี 2563 ยังอยู่ระหว่างการฝึกอบรมภาคทฤษฎี) โดยผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ที่ปฏิบัติงานจริงได้รับการติดตาม กำกับ ดูแล จากพยาบาลผู้จัดการสุขภาพและผู้ตรวจการพยาบาล คิดเป็นร้อยละ 17.44 ของผู้ดูแลฯทั้งหมด
ร้อยละ 100 ของผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ที่ปฏิบัติงานจริงทั้งหมดของศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน 68 แห่ง ได้รับการติดตาม กำกับ ดูแล จากพยาบาลผู้จัดการสุขภาพและผู้ตรวจการพยาบาล (ติดตามระยะที่ 1 จะมีการติดตามประเมินผล ระยะที่ 2 ตั้งแต่ เม.ย.63 – ก.ย.63) จำนวนผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน (Caregiver : CG) ที่ปฏิบัติงานจริงจำนวน 3439 คน จากจำนวนทั้งหมด 3439 คน (Caregiver : CG ปีงบประมาณ 2559 - 2562 เนื่องจาก Caregiver ในปี 2563 ยังอยู่ระหว่างการฝึกอบรมภาคปฏิบัติในพื้นที่) 1. ขออนุมัติโครงการ และแผนการใช้เงินงบประมาณ เรียบร้อยแล้ว 2. จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน เรียบร้อยแล้ว 3. ดำเนินการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน 4. ดำเนินการพัฒนารูปแบบผู้ตรวจการพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน (Supervise Nurse Home ward) 5. สนับสนุนชุดอุปกรณ์การดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน 6. ผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านปฏิบัติงานช่วยเหลืองานพยาบาลในพื้นที่กรุงเทพมหานครตามกำหนด และรายงานผลการปฏิบัติงาน 7. ติดตาม ควบคุม กำกับการดำเนินงานให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และถูกต้องตามมาตรฐานการปฏิบัติการพยาบาล ดังนี้ - ผู้ตรวจการพยาบาลติดตามการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านตามแผน โดยในเดือนมีนาคม 2563 จะดำเนินการติดตามเยี่ยม เพื่อการติดตาม กำกับ ดูแล ผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลือพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ที่ปฏิบัติงานจริงในศูนย์บริการสาธารณสุขครบทั้ง 68 แห่ง (การติดตามระยะที่ 1 ได้ดำเนินการครบทั้งหมดแล้ว จะมีการติดตามประเมินผล ระยะที่ 2 ตั้งแต่ เม.ย.63 – ก.ย.63)
ร้อยละ 100 ของผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ที่ปฏิบัติงานจริงทั้งหมดของศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน 68 แห่ง ได้รับการติดตาม กำกับ ดูแล จากพยาบาลผู้จัดการสุขภาพและผู้ตรวจการพยาบาล (Caregiver : CG) ที่ปฏิบัติงานจริงจำนวน 3,607 คน จากจำนวนทั้งหมด 3,607 คน (Caregiver : CG ปีงบประมาณ 2559 - 2563 ได้รับการติดตาม กำกับ ดูแล จากพยาบาลผู้จัดการสุขภาพและผู้ตรวจการพยาบาล ) ความสำเร็จของการดำเนินโครงการ คิดเป็นร้อยละ 95 1. ขออนุมัติโครงการ และแผนการใช้เงินงบประมาณ เรียบร้อยแล้ว 2. จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน เรียบร้อยแล้ว 3. ดำเนินการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน 4. ดำเนินการพัฒนารูปแบบผู้ตรวจการพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน (Supervise Nurse Home ward) 5. สนับสนุนชุดอุปกรณ์การดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน 6. ผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านปฏิบัติงานช่วยเหลืองานพยาบาลในพื้นที่กรุงเทพมหานครตามกำหนด และรายงานผลการปฏิบัติงาน 7. ติดตาม ควบคุม กำกับการดำเนินงานให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และถูกต้องตามมาตรฐานการปฏิบัติการพยาบาล ดังนี้ - ผู้ตรวจการพยาบาลติดตามการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านตามแผน โดยในเดือนมีนาคม 2563 จะดำเนินการติดตามเยี่ยม เพื่อการติดตาม กำกับ ดูแล ผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลือพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ที่ปฏิบัติงานจริงในศูนย์บริการสาธารณสุขครบทั้ง 68 แห่ง (การติดตามระยะที่ 1 ได้ดำเนินการครบทั้งหมดแล้ว ทั้งนี้ การติดตามประเมินผล ระยะที่ 2 ตั้งแต่ เม.ย.63 – ก.ย.63 ได้ขออนุมัติยกเลิกกิจกรรมฯดังกล่าว ให้เป็นไปตามข้อคำสั่งแนวทางปฏิบัติของกรุงเทพมหานคร ) ทั้งนี้ ร้อยละ 100 ของผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ที่ปฏิบัติงานจริงได้รับการติดตาม กำกับ ดูแล จากพยาบาลผู้จัดการสุขภาพและผู้ตรวจการพยาบาล เนื่องจาก พยาบาลผู้จัดการสุขภาพได้ลงตรวจเยี่ยมในระยะที่ 1 โดยทำการตรวจเยี่ยมศูนย์บริการสาธารณสุข ทั้ง 68 แห่ง เพื่อติดตาม กำกับ ดูแล การปฏิบัติงานของผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ที่ปฏิบัติงานจริง ทั้งหมดเรียบร้อยแล้ว โดยพยาบาลผู้จัดการสุขภาพได้ดำเนินการติดตาม กำกับ ดูแล การปฏิบัติงานของผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านอย่างต่อเนื่อง
ร้อยละ 100 ของผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ที่ปฏิบัติงานจริงทั้งหมดของศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน 68 แห่ง ได้รับการติดตาม กำกับ ดูแล จากพยาบาลผู้จัดการสุขภาพและผู้ตรวจการพยาบาล (Caregiver : CG) ที่ปฏิบัติงานจริงจำนวน 3,607 คน จากจำนวนทั้งหมด 3,607 คน (Caregiver : CG ปีงบประมาณ 2559 - 2563 ได้รับการติดตาม กำกับ ดูแล จากพยาบาลผู้จัดการสุขภาพและผู้ตรวจการพยาบาล ) ความสำเร็จของการดำเนินโครงการ คิดเป็นร้อยละ 100 1. ขออนุมัติโครงการ และแผนการใช้เงินงบประมาณ เรียบร้อยแล้ว 2. จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน เรียบร้อยแล้ว 3. ดำเนินการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน 4. ดำเนินการพัฒนารูปแบบผู้ตรวจการพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน (Supervise Nurse Home ward) 5. สนับสนุนชุดอุปกรณ์การดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน 6. ผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านปฏิบัติงานช่วยเหลืองานพยาบาลในพื้นที่กรุงเทพมหานครตามกำหนด และรายงานผลการปฏิบัติงาน 7. ติดตาม ควบคุม กำกับการดำเนินงานให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และถูกต้องตามมาตรฐานการปฏิบัติการพยาบาล ดังนี้ - ผู้ตรวจการพยาบาลติดตามการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านตามแผน โดยในเดือนมีนาคม 2563 จะดำเนินการติดตามเยี่ยม เพื่อการติดตาม กำกับ ดูแล ผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลือพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ที่ปฏิบัติงานจริงในศูนย์บริการสาธารณสุขครบทั้ง 68 แห่ง (การติดตามระยะที่ 1 ได้ดำเนินการครบทั้งหมดแล้ว ทั้งนี้ การติดตามประเมินผล ระยะที่ 2 ตั้งแต่ เม.ย.63 – ก.ย.63 ได้ขออนุมัติยกเลิกกิจกรรมฯดังกล่าว ให้เป็นไปตามข้อคำสั่งแนวทางปฏิบัติของกรุงเทพมหานคร )
๓.๑.๓ ผู้สูงอายุได้รับการดูแลสุขภาพอย่างครบวงจรเพื่อคุณภาพชีวิตที่ด | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :100.00 |
อยู่ระหว่างขั้นตอนการดำเนินกิจกรรม ดังนี้ กิจกรรมที่ 1 การอบรมสร้างแกนนำผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน อยู่ระหว่างประสานวิทยากร เตรียมเอกสารประกอบการประชุม และแจ้งผู้รับการอบรมให้ทราบกำหนดการอบรม กิจกรรมที่ 2 การอบรมพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุโรคไตที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ขณะนี้อยู่ระหว่างทำคำสั่งรายชื่อผู้เข้ารับการอบรมเพื่อขออนุมัติจากผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร และประสานสถานที่ศึกษาดูงานต่างจังหวัด กิจกรรมที่ 3 การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุแบบประคับประคองที่บ้านดุจโรงพยาบาล อยู่ระหว่างรวบรวมรายชื่อผู้เข้ารับการอบรมจากศูนย์บริการสาธารณสุขที่ 68 แห่ง เพิ่มเติม และประสานทีมวิทยากรฝึกอบรม กิจกรรมที่ 4 การประชุมเชิงปฏิบัติการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การสร้างการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายเพื่อการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ได้ดำเนินการจัดกิจกรรมฯ รุ่นที่ 1 เมื่อวันที่ 16 - 17 ธันวาคม 2562 ณ โรงแรมรอยัลริเวอร์ เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร การประชุมเป็นไปด้วยความเรียบร้อย ผู้ป่วยและผู้สูงอายุใน Home Ward รายใหม่ จำนวน 656 รายได้รับการเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนจากผู้ดูแลฯจากทั้งหมดจำนวน 669 ราย คิดเป็นร้อยละ 98 คิดเป็นร้อยละ 98 (ยอดผู้ป่วยฯ 1 ต.ค.62 – 31 ธ.ค. 62) ทั้งนี้ ยอดผู้ป่วยและผู้สูงอายุใน Home Ward สะสมทั้งหมด จำนวน 14,245 รายได้รับการเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนจากผู้ดูแลฯจากทั้งหมด
ผู้ป่วยและผู้สูงอายุใน Home Ward รายใหม่ จำนวน 1,396 รายได้รับการเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนจากผู้ดูแลฯจากทั้งหมดจำนวน 1,396 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 (ยอดผู้ป่วยฯ 1 ต.ค.62 – 31 มี.ค.63) ทั้งนี้ ยอดผู้ป่วยและผู้สูงอายุใน Home Ward สะสมทั้งหมด จำนวน 13,135 รายได้รับการเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนจากผู้ดูแลฯจากทั้งหมด 1. ขออนุมัติโครงการ และแผนการใช้เงินงบประมาณ เรียบร้อยแล้ว 2. จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน เรียบร้อยแล้ว 3. ดำเนินการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน 4. ดำเนินการพัฒนารูปแบบผู้ตรวจการพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน (Supervise Nurse Home ward) 5. สนับสนุนชุดอุปกรณ์การดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน 6. ผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านปฏิบัติงานช่วยเหลืองานพยาบาลในพื้นที่กรุงเทพมหานครตามกำหนด และรายงานผลการปฏิบัติงาน 7. ติดตาม ควบคุม กำกับการดำเนินงานให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และถูกต้องตามมาตรฐานการปฏิบัติการพยาบาล 8. ดำเนินการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ตามกิจกรรมในโครงการ โดยสรุป - กิจกรรมที่แล้วเสร็จ ดังนี้ กิจกรรมที่ 1 ดำเนินการจัดอบรมสร้างแกนนำผู้ดูแลฯ (caregiver), กิจกรรมที่ 2 การอบรมพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุโรคไตที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน, กิจกรรมที่ 3 การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุแบบประคับประคองที่บ้านดุจโรงพยาบาล,กิจกรรมที่ 4 การประชุมเชิงปฏิบัติการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การสร้างการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายเพื่อการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่กรุงเทพมหานคร - กิจกรรมที่เริ่มดำเนินการแล้ว บางส่วนเนื่องจากการแพร่ระบาดของโรค Covid-19 และตามข้อคำสั่งแนวทางปฏิบัติของกรุงเทพมหานครต้องชะลอการดำเนินการ ดังนี้ กิจกรรมที่ 5 การประชุมเชิงปฏิบัติการส่งต่อและให้คำปรึกษาฯ ตามแผนกำหนดการในเดือนพฤษภาคม – มิถุนายน 2563, กิจกรรมที่ 6 ประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน ติดตามการปฏิบัติงาน ปัญหา อุปสรรคของผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ศูนย์บริการสาธารณสุขทั้ง 68 ได้ดำเนินการจัดประชุมแล้ว จำนวน 6 ครั้ง, กิจกรรมที่ 7 การพัฒนารูปแบบผู้ตรวจการพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน (Supervise Nurse Home ward) ได้ดำเนินการครบทั้ง 68 แห่งในระยะที่ 1 เรียบร้อยแล้ว
ผู้ป่วยและผู้สูงอายุใน Home Ward รายใหม่ จำนวน 1797 รายได้รับการเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนจากผู้ดูแลฯจากทั้งหมดจำนวน 1797 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 (ยอดผู้ป่วยฯ 1 ต.ค.62 – 30 มิ.ย. 63) ทั้งนี้ ยอดผู้ป่วยและผู้สูงอายุใน Home Ward สะสมทั้งหมด จำนวน 14,365 ราย ได้รับการเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนจากผู้ดูแลฯจากทั้งหมด โดยความสำเร็จของโครงการคิดเป็นร้อยละ 95 โดยกิจกรรมที่แล้วเสร็จได้แก่ กิจกรรมที่ 1 การอบรมสร้างแกนนำผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนืองที่บ้าน, กิจกรรมที่ 2 การอบรมพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุโรคไตที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน, กิจกรรมที่ 3 การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาการดูแลผู็ป่วยและผู้สูงอายุแบบประคับประคองที่บ้านดุจโรงพยาบาล และ กิจกรรมที่ 4 การประชุมเชิงปฏิบัติการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การสร้างการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายเพื่อการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และเนื่องจากอยู่ในสถานการณ์โรคระบาดของโรคโควิด ได้ดำเนินการได้ขออนุมัติยกเลิกกิจกรรม ให้เป็นไปตามข้อคำสั่งแนวทางปฏิบัติของกรุงเทพมหานคร ดังนี้ 1.กิจกรรมที่ 5 การประชุมเชิงปฏิบัติการส่งต่อและให้คำปรึกษาการทำงานร่วมกัน ปัญหาและอุปสรรคในการจัดทำเส้นทางการให้คำปรึกษาเพื่อการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ส่งต่อจากเครือข่าย ได้ขออนุมัติยกเลิกเรียบร้อยแล้ว 2.กิจกรรมที่ 6 การจัดประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน ติดตามการปฏิบัติงาน ปัญหา อุปสรรคของผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน จำนวน 12 ครั้ง ณ ศูนย์บริการสาธารณสุข ดำเนินการประชุม ครั้งที่ 1 – 7 เรียบร้อยแล้ว ส่วนครั้งที่ 8 – 12 ได้ขออนุมัติยกเลิกการประชุมเรียบร้อยแล้ว 3.กิจกรรมที่ 7 การพัฒนารูปแบบผู้ตรวจการพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน (Supervise Nurse Home ward) ได้ทำการตรวจเยี่ยมในระยะที่ 1 โดยทำการตรวจเยี่ยมศูนย์บริการสาธารณสุข ทั้ง 68 แห่ง เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ส่วนการตรวจเยี่ยมศูนย์บริการสาธารณสุขในระยะที่ 2 ได้ขออนุมัติยกเลิกเรียบร้อยแล้ว 4.กิจกรรมที่ 8 สนับสนุนผู้ดูแลให้สามารถดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านได้อย่างมีประสิทธิภาพ อยู่ระหว่างดำเนินการขออนุมัติเงินงบประมาณในการจัดทำบัตรประจำตัวผู้ดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน และอยู่ระหว่างรอการตรวจรับชุดอุปกรณ์ดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ประจำปี 2563 5.กิจกรรมที่ 9 สนับสนุนชุดอุปกรณ์การดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ได้ขออนุมัติยกเลิกการดำเนินการในกิจกรรมนี้เรียบร้อยแล้วผู้ป่วยและผู้สูงอายุใน Home Ward ได้รับการเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนจากผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลได้อย่างต่อเนื่อง และเนื่องจากอยู่ในสถานการณ์โรคระบาดของโรคโควิด ได้ดำเนินการ ดังนี้ กิจกรรมที่ 5 การประชุมเชิงปฏิบัติการส่งต่อและให้คำปรึกษาการทำงานร่วมกัน ปัญหาและอุปสรรคในการจัดทำเส้นทางการให้คำปรึกษาเพื่อการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ส่งต่อจากเครือข่าย ได้ขออนุมัติยกเลิกเรียบร้อยแล้ว กิจกรรมที่ 6 การจัดประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน ติดตามการปฏิบัติงาน ปัญหา อุปสรรคของผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน จำนวน 12 ครั้ง ณ ศูนย์บริการสาธารณสุข ดำเนินการประชุม ครั้งที่ 1 – 7 เรียบร้อยแล้ว ส่วนครั้งที่ 8 – 12 ได้ขออนุมัติยกเลิกการประชุมเรียบร้อยแล้ว กิจกรรมที่ 7 การพัฒนารูปแบบผู้ตรวจการพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน (Supervise Nurse Home ward) ได้ทำการตรวจเยี่ยมในระยะที่ 1 โดยทำการตรวจเยี่ยมศูนย์บริการสาธารณสุข ทั้ง 68 แห่ง เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ส่วนการตรวจเยี่ยมศูนย์บริการสาธารณสุขในระยะที่ 2 ได้ขออนุมัติยกเลิกเรียบร้อยแล้ว กิจกรรมที่ 8 สนับสนุนผู้ดูแลให้สามารถดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านได้อย่างมีประสิทธิภาพ อยู่ระหว่างดำเนินการขออนุมัติเงินงบประมาณในการจัดทำบัตรประจำตัวผู้ดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน และอยู่ระหว่างรอการตรวจรับชุดอุปกรณ์ดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ประจำปี 2563 กิจกรรมที่ 9 สนับสนุนชุดอุปกรณ์การดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ได้ขออนุมัติยกเลิกการดำเนินการในกิจกรรมนี้เรียบร้อยแล้ว
ผู้ป่วยและผู้สูงอายุใน Home Ward รายใหม่ จำนวน 1,884 รายได้รับการเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนจากผู้ดูแลฯจากทั้งหมดจำนวน 1,884 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 (ยอดผู้ป่วยฯ 1 ต.ค.62 – 31 ส.ค. 63) ทั้งนี้ ยอดผู้ป่วยและผู้สูงอายุใน Home Ward สะสมทั้งหมด จำนวน 13,580 ราย ได้รับการเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนจากผู้ดูแลฯจากทั้งหมด โดยความสำเร็จของโครงการคิดเป็นร้อยละ 100 โดยกิจกรรมที่แล้วเสร็จได้แก่ กิจกรรมที่ 1 การอบรมสร้างแกนนำผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนืองที่บ้าน, กิจกรรมที่ 2 การอบรมพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุโรคไตที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน, กิจกรรมที่ 3 การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาการดูแลผู็ป่วยและผู้สูงอายุแบบประคับประคองที่บ้านดุจโรงพยาบาล, กิจกรรมที่ 4 การประชุมเชิงปฏิบัติการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การสร้างการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายเพื่อการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และกิจกรรมที่ 8 สนับสนุนผู้ดูแลให้สามารถดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว และเนื่องจากอยู่ในสถานการณ์โรคระบาดของโรคโควิด ได้ดำเนินการได้ขออนุมัติยกเลิกกิจกรรม ให้เป็นไปตามข้อคำสั่งแนวทางปฏิบัติของกรุงเทพมหานคร ดังนี้ 1.กิจกรรมที่ 5 การประชุมเชิงปฏิบัติการส่งต่อและให้คำปรึกษาการทำงานร่วมกัน ปัญหาและอุปสรรคในการจัดทำเส้นทางการให้คำปรึกษาเพื่อการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ส่งต่อจากเครือข่าย ได้ขออนุมัติยกเลิกเรียบร้อยแล้ว 2.กิจกรรมที่ 6 การจัดประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน ติดตามการปฏิบัติงาน ปัญหา อุปสรรคของผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน จำนวน 12 ครั้ง ณ ศูนย์บริการสาธารณสุข ดำเนินการประชุม ครั้งที่ 1 – 7 เรียบร้อยแล้ว ส่วนครั้งที่ 8 – 12 ได้ขออนุมัติยกเลิกการประชุมเรียบร้อยแล้ว 3.กิจกรรมที่ 7 การพัฒนารูปแบบผู้ตรวจการพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน (Supervise Nurse Home ward) ได้ทำการตรวจเยี่ยมในระยะที่ 1 โดยทำการตรวจเยี่ยมศูนย์บริการสาธารณสุข ทั้ง 68 แห่ง เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ส่วนการตรวจเยี่ยมศูนย์บริการสาธารณสุขในระยะที่ 2 ได้ขออนุมัติยกเลิกเรียบร้อยแล้ว 4. กิจกรรมที่ 9 สนับสนุนชุดอุปกรณ์การดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ได้ขออนุมัติยกเลิกการดำเนินการในกิจกรรมนี้เรียบร้อยแล้ว
๓.๑.๒ มีระบบสาธารณูปโภคและโครงสร้างพื้นฐานที่เหมาะสมสำหรับผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :100.00 |
อยู่ระหว่างขั้นตอนการดำเนินกิจกรรม ดังนี้ กิจกรรมที่ 1 การอบรมสร้างแกนนำผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน อยู่ระหว่างประสานวิทยากร เตรียมเอกสารประกอบการประชุม และแจ้งผู้รับการอบรมให้ทราบกำหนดการอบรม กิจกรรมที่ 2 การอบรมพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุโรคไตที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ขณะนี้อยู่ระหว่างทำคำสั่งรายชื่อผู้เข้ารับการอบรมเพื่อขออนุมัติจากผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร และประสานสถานที่ศึกษาดูงานต่างจังหวัด กิจกรรมที่ 3 การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุแบบประคับประคองที่บ้านดุจโรงพยาบาล อยู่ระหว่างรวบรวมรายชื่อผู้เข้ารับการอบรมจากศูนย์บริการสาธารณสุขที่ 68 แห่ง เพิ่มเติม และประสานทีมวิทยากรฝึกอบรม กิจกรรมที่ 4 การประชุมเชิงปฏิบัติการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การสร้างการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายเพื่อการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ได้ดำเนินการจัดกิจกรรมฯ รุ่นที่ 1 เมื่อวันที่ 16 - 17 ธันวาคม 2562 ณ โรงแรมรอยัลริเวอร์ เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร การประชุมเป็นไปด้วยความเรียบร้อย ผู้ป่วยและผู้สูงอายุใน Home Ward รายใหม่ จำนวน 656 รายได้รับการเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนจากผู้ดูแลฯจากทั้งหมดจำนวน 669 ราย คิดเป็นร้อยละ 98 คิดเป็นร้อยละ 98 (ยอดผู้ป่วยฯ 1 ต.ค.62 – 31 ธ.ค. 62) ทั้งนี้ ยอดผู้ป่วยและผู้สูงอายุใน Home Ward สะสมทั้งหมด จำนวน 14,245 รายได้รับการเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนจากผู้ดูแลฯจากทั้งหมด
ผู้ป่วยและผู้สูงอายุใน Home Ward รายใหม่ จำนวน 1,396 รายได้รับการเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนจากผู้ดูแลฯจากทั้งหมดจำนวน 1,396 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 (ยอดผู้ป่วยฯ 1 ต.ค.62 – 31 มี.ค.63) ทั้งนี้ ยอดผู้ป่วยและผู้สูงอายุใน Home Ward สะสมทั้งหมด จำนวน 13,135 รายได้รับการเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนจากผู้ดูแลฯจากทั้งหมด 1. ขออนุมัติโครงการ และแผนการใช้เงินงบประมาณ เรียบร้อยแล้ว 2. จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน เรียบร้อยแล้ว 3. ดำเนินการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน 4. ดำเนินการพัฒนารูปแบบผู้ตรวจการพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน (Supervise Nurse Home ward) 5. สนับสนุนชุดอุปกรณ์การดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน 6. ผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านปฏิบัติงานช่วยเหลืองานพยาบาลในพื้นที่กรุงเทพมหานครตามกำหนด และรายงานผลการปฏิบัติงาน 7. ติดตาม ควบคุม กำกับการดำเนินงานให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และถูกต้องตามมาตรฐานการปฏิบัติการพยาบาล 8. ดำเนินการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ตามกิจกรรมในโครงการ โดยสรุป - กิจกรรมที่แล้วเสร็จ ดังนี้ กิจกรรมที่ 1 ดำเนินการจัดอบรมสร้างแกนนำผู้ดูแลฯ (caregiver), กิจกรรมที่ 2 การอบรมพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุโรคไตที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน, กิจกรรมที่ 3 การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุแบบประคับประคองที่บ้านดุจโรงพยาบาล,กิจกรรมที่ 4 การประชุมเชิงปฏิบัติการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การสร้างการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายเพื่อการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่กรุงเทพมหานคร - กิจกรรมที่เริ่มดำเนินการแล้ว บางส่วนเนื่องจากการแพร่ระบาดของโรค Covid-19 และตามข้อคำสั่งแนวทางปฏิบัติของกรุงเทพมหานครต้องชะลอการดำเนินการ ดังนี้ กิจกรรมที่ 5 การประชุมเชิงปฏิบัติการส่งต่อและให้คำปรึกษาฯ ตามแผนกำหนดการในเดือนพฤษภาคม – มิถุนายน 2563, กิจกรรมที่ 6 ประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน ติดตามการปฏิบัติงาน ปัญหา อุปสรรคของผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ศูนย์บริการสาธารณสุขทั้ง 68 ได้ดำเนินการจัดประชุมแล้ว จำนวน 6 ครั้ง, กิจกรรมที่ 7 การพัฒนารูปแบบผู้ตรวจการพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน (Supervise Nurse Home ward) ได้ดำเนินการครบทั้ง 68 แห่งในระยะที่ 1 เรียบร้อยแล้ว
ผู้ป่วยและผู้สูงอายุใน Home Ward รายใหม่ จำนวน 1797 รายได้รับการเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนจากผู้ดูแลฯจากทั้งหมดจำนวน 1797 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 (ยอดผู้ป่วยฯ 1 ต.ค.62 – 30 มิ.ย. 63) ทั้งนี้ ยอดผู้ป่วยและผู้สูงอายุใน Home Ward สะสมทั้งหมด จำนวน 14,365 ราย ได้รับการเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนจากผู้ดูแลฯจากทั้งหมด โดยความสำเร็จของโครงการคิดเป็นร้อยละ 95 โดยกิจกรรมที่แล้วเสร็จได้แก่ กิจกรรมที่ 1 การอบรมสร้างแกนนำผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนืองที่บ้าน, กิจกรรมที่ 2 การอบรมพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุโรคไตที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน, กิจกรรมที่ 3 การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาการดูแลผู็ป่วยและผู้สูงอายุแบบประคับประคองที่บ้านดุจโรงพยาบาล และ กิจกรรมที่ 4 การประชุมเชิงปฏิบัติการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การสร้างการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายเพื่อการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และเนื่องจากอยู่ในสถานการณ์โรคระบาดของโรคโควิด ได้ดำเนินการได้ขออนุมัติยกเลิกกิจกรรม ให้เป็นไปตามข้อคำสั่งแนวทางปฏิบัติของกรุงเทพมหานคร ดังนี้ 1.กิจกรรมที่ 5 การประชุมเชิงปฏิบัติการส่งต่อและให้คำปรึกษาการทำงานร่วมกัน ปัญหาและอุปสรรคในการจัดทำเส้นทางการให้คำปรึกษาเพื่อการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ส่งต่อจากเครือข่าย ได้ขออนุมัติยกเลิกเรียบร้อยแล้ว 2.กิจกรรมที่ 6 การจัดประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน ติดตามการปฏิบัติงาน ปัญหา อุปสรรคของผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน จำนวน 12 ครั้ง ณ ศูนย์บริการสาธารณสุข ดำเนินการประชุม ครั้งที่ 1 – 7 เรียบร้อยแล้ว ส่วนครั้งที่ 8 – 12 ได้ขออนุมัติยกเลิกการประชุมเรียบร้อยแล้ว 3.กิจกรรมที่ 7 การพัฒนารูปแบบผู้ตรวจการพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน (Supervise Nurse Home ward) ได้ทำการตรวจเยี่ยมในระยะที่ 1 โดยทำการตรวจเยี่ยมศูนย์บริการสาธารณสุข ทั้ง 68 แห่ง เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ส่วนการตรวจเยี่ยมศูนย์บริการสาธารณสุขในระยะที่ 2 ได้ขออนุมัติยกเลิกเรียบร้อยแล้ว 4.กิจกรรมที่ 8 สนับสนุนผู้ดูแลให้สามารถดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านได้อย่างมีประสิทธิภาพ อยู่ระหว่างดำเนินการขออนุมัติเงินงบประมาณในการจัดทำบัตรประจำตัวผู้ดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน และอยู่ระหว่างรอการตรวจรับชุดอุปกรณ์ดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ประจำปี 2563 5.กิจกรรมที่ 9 สนับสนุนชุดอุปกรณ์การดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ได้ขออนุมัติยกเลิกการดำเนินการในกิจกรรมนี้เรียบร้อยแล้วผู้ป่วยและผู้สูงอายุใน Home Ward ได้รับการเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนจากผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลได้อย่างต่อเนื่อง และเนื่องจากอยู่ในสถานการณ์โรคระบาดของโรคโควิด ได้ดำเนินการ ดังนี้ กิจกรรมที่ 5 การประชุมเชิงปฏิบัติการส่งต่อและให้คำปรึกษาการทำงานร่วมกัน ปัญหาและอุปสรรคในการจัดทำเส้นทางการให้คำปรึกษาเพื่อการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ส่งต่อจากเครือข่าย ได้ขออนุมัติยกเลิกเรียบร้อยแล้ว กิจกรรมที่ 6 การจัดประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน ติดตามการปฏิบัติงาน ปัญหา อุปสรรคของผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน จำนวน 12 ครั้ง ณ ศูนย์บริการสาธารณสุข ดำเนินการประชุม ครั้งที่ 1 – 7 เรียบร้อยแล้ว ส่วนครั้งที่ 8 – 12 ได้ขออนุมัติยกเลิกการประชุมเรียบร้อยแล้ว กิจกรรมที่ 7 การพัฒนารูปแบบผู้ตรวจการพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน (Supervise Nurse Home ward) ได้ทำการตรวจเยี่ยมในระยะที่ 1 โดยทำการตรวจเยี่ยมศูนย์บริการสาธารณสุข ทั้ง 68 แห่ง เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ส่วนการตรวจเยี่ยมศูนย์บริการสาธารณสุขในระยะที่ 2 ได้ขออนุมัติยกเลิกเรียบร้อยแล้ว กิจกรรมที่ 8 สนับสนุนผู้ดูแลให้สามารถดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านได้อย่างมีประสิทธิภาพ อยู่ระหว่างดำเนินการขออนุมัติเงินงบประมาณในการจัดทำบัตรประจำตัวผู้ดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน และอยู่ระหว่างรอการตรวจรับชุดอุปกรณ์ดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ประจำปี 2563 กิจกรรมที่ 9 สนับสนุนชุดอุปกรณ์การดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ได้ขออนุมัติยกเลิกการดำเนินการในกิจกรรมนี้เรียบร้อยแล้ว
ผู้ป่วยและผู้สูงอายุใน Home Ward รายใหม่ จำนวน 1,884 รายได้รับการเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนจากผู้ดูแลฯจากทั้งหมดจำนวน 1,884 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 (ยอดผู้ป่วยฯ 1 ต.ค.62 – 31 ส.ค. 63) ทั้งนี้ ยอดผู้ป่วยและผู้สูงอายุใน Home Ward สะสมทั้งหมด จำนวน 13,580 ราย ได้รับการเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนจากผู้ดูแลฯจากทั้งหมด โดยความสำเร็จของโครงการคิดเป็นร้อยละ 100 โดยกิจกรรมที่แล้วเสร็จได้แก่ กิจกรรมที่ 1 การอบรมสร้างแกนนำผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนืองที่บ้าน, กิจกรรมที่ 2 การอบรมพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุโรคไตที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน, กิจกรรมที่ 3 การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาการดูแลผู็ป่วยและผู้สูงอายุแบบประคับประคองที่บ้านดุจโรงพยาบาล, กิจกรรมที่ 4 การประชุมเชิงปฏิบัติการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การสร้างการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายเพื่อการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และกิจกรรมที่ 8 สนับสนุนผู้ดูแลให้สามารถดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว และเนื่องจากอยู่ในสถานการณ์โรคระบาดของโรคโควิด ได้ดำเนินการได้ขออนุมัติยกเลิกกิจกรรม ให้เป็นไปตามข้อคำสั่งแนวทางปฏิบัติของกรุงเทพมหานคร ดังนี้ 1.กิจกรรมที่ 5 การประชุมเชิงปฏิบัติการส่งต่อและให้คำปรึกษาการทำงานร่วมกัน ปัญหาและอุปสรรคในการจัดทำเส้นทางการให้คำปรึกษาเพื่อการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ส่งต่อจากเครือข่าย ได้ขออนุมัติยกเลิกเรียบร้อยแล้ว 2.กิจกรรมที่ 6 การจัดประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน ติดตามการปฏิบัติงาน ปัญหา อุปสรรคของผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน จำนวน 12 ครั้ง ณ ศูนย์บริการสาธารณสุข ดำเนินการประชุม ครั้งที่ 1 – 7 เรียบร้อยแล้ว ส่วนครั้งที่ 8 – 12 ได้ขออนุมัติยกเลิกการประชุมเรียบร้อยแล้ว 3.กิจกรรมที่ 7 การพัฒนารูปแบบผู้ตรวจการพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน (Supervise Nurse Home ward) ได้ทำการตรวจเยี่ยมในระยะที่ 1 โดยทำการตรวจเยี่ยมศูนย์บริการสาธารณสุข ทั้ง 68 แห่ง เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ส่วนการตรวจเยี่ยมศูนย์บริการสาธารณสุขในระยะที่ 2 ได้ขออนุมัติยกเลิกเรียบร้อยแล้ว 4. กิจกรรมที่ 9 สนับสนุนชุดอุปกรณ์การดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ได้ขออนุมัติยกเลิกการดำเนินการในกิจกรรมนี้เรียบร้อยแล้ว
๕.๓.๑ ลดบทบาทส่วนกลางลงเหลือภารกิจหลักเท่าที่ต้องทำเท่าที่จำเป็นและให้อำานาจในการกำหนดนโ | |
![]() |
หน่วยนับ :ไม่น้อยกว่าร้อยละ เป้าหมาย :90.00 ผลงาน :100.00 |
อยู่ระหว่างดำเนินการตั้งคณะกรรมการดำเนินโครงการและชี้แจงการดำเนินกิจกรรมคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพแก่ศูนย์บริการสาธารณะสุข
อยู่ระหว่างดำเนินการเผยแพร่ความรู้ด้านผลติภัณฑ์สุขภาพให้แกอาสาสมัครสาธารณสุข โดยศูนย์บริการสาธารณสุข และติดตามผลดำเนินกิจกรรมของศูนย์บริการสาธารสุข ทั้ง 68 แห่ง
ผู้อำนวยการสำนักอนามัย อนุมัติให้ปรับเปลี่ยนแนวทางการประเมินตัวชี้วัดมิติที่ 1 ประสิทธิผลตามพันธกิจ ตามหนังสือกองเภสัชกรรมที่ กท 0710/311 ลงวันที่ 20 เมษายน 2563 และอยู่ระหว่างศูนย์บริการสาธารณสุข ดำเนินกิจกรรมคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ
ศูนย์บริการสารณสุข ทั้ง 68 แห่ง มีการดำเนินกิจกรรมด้านการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ อย่างน้อย 1 ข้อจากที่กำหนด 6 ข้อ (ตามคำนิยามโครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ) คิดเป็นร้อยละ 100
๗.๒.๑ กรุงเทพมหานครมีระบบการติดตามและรายงานความก้าวหน้าผลการดำาเนินงานตามแผนพัฒนากรุงเทพ | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :66.67 |
มีโครงการงานประจำทั้งหมด จำนวน 39 โครงการ ยังไม่มีโครงการงานประจำที่ดำเนินการเสร็จสิ้น
มีโครงการงานประจำเสร็จสิ้นในไตรมาสที่ 2 จำนวน 4 โครงการ จากโครงการงานประจำทั้งหมด 39 โครงการ
-มีโครงการงานประจำเสร็จสิ้นในไตรมาสที่ 3 จำนวน 8 โครงการ จากโครงการงานประจำทั้งหมด 39 โครงการ
-มีโครงการงานประจำเสร็จสิ้นในไตรมาสที่ 4 จำนวน 26 โครงการ จากโครงการงานประจำทั้งหมด 39 โครงการ